สีลวรรค คือ หมวดศีล
๔๕๙.
สีลํ ยาว ชรา สาธุ
.
ศีลยังประโยชน์ให้สำเร็จตราบเท่าชรา.
สํ. ส. ๑๕/๕๐.
๔๖๐.
สุขํ ยาว ชรา สีลํ
.
ศีลนำสุขมาให้ตราบเท่าชรา.
ขุ. ธ. ๒๕/๕๙.
๔๖๑.
สีลํ กิเรว กลฺยาณํ
.
ท่านว่าศีลนั่นเทียว เป็นความดี.
ขุ. ชา. เอก. ๒๗/๒๘.
๔๖๒.
สีลํ โลเก อนุตฺตรํ
.
ศีลเป็นเยี่ยมในโลก.
ขุ. ชา. เอก. ๒๗/๒๘.
๔๖๓.
สํวาเสน สีลํ เวทิตพฺพํ
.
ศีลพึงรู้ได้เพราะอยู่ร่วมกัน.
นัย-ขุ. อุ. ๒๕/๑๗๘.
๔๖๔.
สาธุ สพฺพตฺถ สํวโร
.
ความสำรวมในที่ทั้งปวง เป็นดี.
สํ. ส. ๑๕/๑๐๖. ขุ. ธ. ๒๕/๖๔.
๔๖๕.
สญฺมโต เวรํ น จียติ
.
เมื่อคอยระวังอยู่ เวรย่อมไม่ก่อขึ้น.
ที. มหา. ๑๐/๑๕๙. ขุ. อุ. ๒๕/๒๑๕.
๔๖๖.
สีลํ รกฺเขยฺย เมธาวี
.
ปราชญ์พึงรักษาศีล.
ขุ. อิติ. ๒๕/๒๘๒.
พุทธศาสนสุภาษิต
๑๘. หมวดมฤตยู
๑๙. หมวดมิตร
๒๐. หมวดขอ
๒๑. หมวดพระราชา
๒๒. หมวดวาจา
๒๓. หมวดความเพียร
๒๔. หมวดเวร
๒๕. หมวดความสัตย์
๒๖. หมวดสติ
๒๗. หมวดศรัทธา
๒๘. หมวดสันโดษ
๒๙. หมวดสมณะ
๓๐. หมวดสามัคคี
๓๑. หมวดศีล
๓๒. หมวดสุข
๓๓. หมวดคบหา
๓๔. นามคัมภีร์
๑. หมวดตน
๒. หมวดไม่ประมาท
๓. หมวดกรรม
๔. หมวดกิเลส
๕. หมวดโกรธ
๖. หมวดอดทน
๗. หมวดจิต
๘. หมวดชนะ
๙. หมวดทาน
๑๐. หมวดทุกข์
๑๑. หมวดธรรม
๑๒. หมวดเบ็ดเตล็ด
๑๓. หมวดปัญญา
๑๔. หมวดประมาท
๑๕. หมวดบาป
๑๖. หมวดบุคคล
๑๗. หมวดบุญ