วาจาวรรค คือ หมวดวาจา
๓๙๘.
หทยสฺส สทิสี วาจา
.
วาจาเช่นเดียวกับใจ.
ขุ. ชา. เอก. ๒๗/๑๓๘.
๓๙๙.
โมกฺโข กลฺยาณิยา สาธุ
.
เปล่งวาจางาม ยังประโยชน์ให้สำเร็จ.
ขุ. ชา. เอก. ๒๗/๒๘.
๔๐๐.
มุตฺวา ตปฺปติ ปาปิกํ
.
คนเปล่งวาจาชั่ว ย่อมเดือดร้อน.
ขุ. ชา. เอก. ๒๗/๒๘.
๔๐๑.
ทุฏฺสฺส ผรุสา วาจา
.
คนโกรธมีวาจาหยาบ.
ขุ. ชา. ทสก. ๒๗/๒๗๓.
๔๐๒.
อภูตวาที นิรยํ อุเปติ
.
คนพูดไม่จริง ย่อมเข้าถึงนรก.
ขุ. ธ. ๒๕/๕๕.
๔๐๓.
สํโวหาเรน โสเจยฺยํ เวทิตพฺพํ
.
ความสะอาด พึงรู้ได้ด้วยถ้อยคำ.
นัย-ขุ. อุ. ๒๕/๑๗๘.
๔๐๔.
วาจํ มุญฺเจยฺย กลฺยาณึ
.
ควรเปล่งวาจางาม.
สํ. ส. ๑๕/๖๐.
๔๐๕.
สณฺหํ คิรํ อตฺถวตึ ปมุญฺเจ
.
ควรเปล่งวาจาไพเราะที่มีประโยชน์.
ขุ. ชา. เตรส. ๒๗/๓๕๐.
๔๐๖.
ตเมว วาจํ ภาเสยฺย
ยายตฺตานํ น ตาปเย
.
ควรกล่าวแต่วาจาที่ไม่ยังตนให้เดือดร้อน.
สํ. ส. ๑๕/๒๗๘. ขุ. สุ. ๒๕/๔๑๑.
๔๐๗.
มนุญฺเมว ภาเสยฺย
.
ควรกล่าวแต่วาจาที่น่าพอใจ.
ขุ. ชา. เอก. ๒๗/๑๐.
๔๐๘.
นามนุญฺํ กุทาจนํ
.
ในกาลไหน ๆ ก็ไม่ควรกล่าววาจาไม่น่าพอใจ.
ขุ. ชา. เอก. ๒๗/๑๐.
๔๐๙.
วาจํ ปมุญฺเจ กุสลํ นาติเวลํ
.
ไม่ควรเปล่งวาจาที่ดี ให้เกินกาล.
ขุ. ชา. ทุก. ๒๗/๘๐. ขุ. สุ. ๒๕/๕๒๓.
ขุ. มหา. ๒๙/๖๒๒.
๔๑๐.
น หิ มุญฺเจยฺย ปาปิกํ
.
ไม่ควรเปล่งวาจาชั่วเลย.
ขุ. ชา. ๒๗/๒๘.
พุทธศาสนสุภาษิต
๑๘. หมวดมฤตยู
๑๙. หมวดมิตร
๒๐. หมวดขอ
๒๑. หมวดพระราชา
๒๒. หมวดวาจา
๒๓. หมวดความเพียร
๒๔. หมวดเวร
๒๕. หมวดความสัตย์
๒๖. หมวดสติ
๒๗. หมวดศรัทธา
๒๘. หมวดสันโดษ
๒๙. หมวดสมณะ
๓๐. หมวดสามัคคี
๓๑. หมวดศีล
๓๒. หมวดสุข
๓๓. หมวดคบหา
๓๔. นามคัมภีร์
๑. หมวดตน
๒. หมวดไม่ประมาท
๓. หมวดกรรม
๔. หมวดกิเลส
๕. หมวดโกรธ
๖. หมวดอดทน
๗. หมวดจิต
๘. หมวดชนะ
๙. หมวดทาน
๑๐. หมวดทุกข์
๑๑. หมวดธรรม
๑๒. หมวดเบ็ดเตล็ด
๑๓. หมวดปัญญา
๑๔. หมวดประมาท
๑๕. หมวดบาป
๑๖. หมวดบุคคล
๑๗. หมวดบุญ