ทานวรรค คือ หมวดทาน
๑๔๑.
ทานญฺจ ยุทฺธญฺจ สมานมาหุ
.
ท่านว่า ทานและการรบ เสมอกัน.
สํ. ส. ๑๕/๒๙. ขุ. ชา. อฏฺก. ๒๗/๒๔๙.
๑๔๒.
นตฺถิ จิตฺเต ปสนฺนมฺหิ
อปฺปกา นาม ทกฺขิณา
.
เมื่อจิตเลื่อมใสแล้ว ทักขิณาทานชื่อว่าน้อย ย่อมไม่มี.
ขุ. วิมาน. ๒๖/๘๒.
๑๔๓.
วิเจยฺย ทานํ สุคตปฺปสตฺถํ
.
การเลือกให้ อันพระสุคตทรงสรรเสริญ.
สํ. ส. ๑๕/๓๐. ขุ. ชา. อฏฺก. ๒๗/๒๔๙. ขุ. เปต. ๒๖/๑๙๗.
๑๔๔.
พาลา หเว นปฺปสํสนฺติ ทานํ
.
คนพาลเท่านั้น ย่อมไม่สรรเสริญทาน.
ขุ. ธ. ๒๕/๓๘.
๑๔๕.
ททํ มิตฺตานิ คนฺถติ
.
ผู้ให้ ย่อมผูกไมตรีไว้ได้.
สํ. ส. ๑๕/๓๑๖.
๑๔๖.
ททํ ปิโย โหติ ภชนฺติ นํ พหู
.
ผู้ให้ ย่อมเป็นที่รัก คนหมู่มากย่อมคบเขา.
องฺ. ปญฺจก. ๒๒/๔๓.
๑๔๗.
ททมาโน ปิโย โหติ
.
ผู้ให้ ย่อมเป็นที่รัก.
องฺ. ปญฺจก. ๒๒/๔๔.
๑๔๘.
สุขสฺส ทาตา เมธาวี
สุขํ โส อธิคจฺฉติ
.
ปราชญ์ผู้ให้ความสุข ย่อมได้รับความสุข.
องฺ. ปญฺจก. ๒๒/๔๕.
๑๔๙.
มนาปทายี ลภเต มนาปํ
.
ผู้ให้สิ่งที่ชอบใจ ย่อมได้สิ่งที่ชอบใจ.
องฺ. ปญฺจก. ๒๒/๕๕.
๑๕๐.
เสฏฺนฺทโท เสฏฺมุเปติ านํ
.
ผู้ให้สิ่งประเสริฐ ย่อมถึงฐานะที่ประเสริฐ.
องฺ. ปญฺจก. ๒๒/๕๖.
๑๕๑.
อคฺคสฺส ทาตา ลภเต ปุนคฺคํ
.
ผู้ให้สิ่งที่เลิศ ย่อมได้สิ่งที่เลิศอีก.
องฺ. ปญฺจก. ๒๒/๕๖.
๑๕๒.
ททโต ปุญฺํ ปวฑฺฒติ
.
เมื่อให้ บุญก็เพิ่มขึ้น.
ที. มหา. ๑๐/๑๕๙. ขุ. อุ. ๒๕/๒๑๕.
๑๕๓.
ทเทยฺย ปุริโส ทานํ
.
คนควรให้ของที่ควรให้.
ขุ. ชา. สตฺตก. ๒๗/๒๑๗.
พุทธศาสนสุภาษิต
๑. หมวดตน
๒. หมวดไม่ประมาท
๓. หมวดกรรม
๔. หมวดกิเลส
๕. หมวดโกรธ
๖. หมวดอดทน
๗. หมวดจิต
๘. หมวดชนะ
๙. หมวดทาน
๑๐. หมวดทุกข์
๑๑. หมวดธรรม
๑๒. หมวดเบ็ดเตล็ด
๑๓. หมวดปัญญา
๑๔. หมวดประมาท
๑๕. หมวดบาป
๑๖. หมวดบุคคล
๑๗. หมวดบุญ
๑๘. หมวดมฤตยู
๑๙. หมวดมิตร
๒๐. หมวดขอ
๒๑. หมวดพระราชา
๒๒. หมวดวาจา
๒๓. หมวดความเพียร
๒๔. หมวดเวร
๒๕. หมวดความสัตย์
๒๖. หมวดสติ
๒๗. หมวดศรัทธา
๒๘. หมวดสันโดษ
๒๙. หมวดสมณะ
๓๐. หมวดสามัคคี
๓๑. หมวดศีล
๓๒. หมวดสุข
๓๓. หมวดคบหา
๓๔. นามคัมภีร์