๒๐๕. |
อุนฺนฬสฺส ปมตฺตสฺส |
พาหิราสสฺส ภิกฺขุโน |
|
สีลํ สมาธิ ปญฺญา จ |
ปาริปูรึ น คจฺฉติ. |
|
เมื่อภิกษุมีมานะ ประมาทแล้ว มีความหวังในภายนอก, ศีล
สมาธิ และปัญญา ย่อมไม่ถึงความบริบูรณ์. |
|
( โสณโกฬิวิสเถร ) |
ขุ. เถร. ๒๖/๓๖๐. |
|
|
|
๒๐๖. |
เตสํ สมฺปนฺนสีลานํ |
อปฺปมาทวิหารินํ |
|
สมฺมทญฺา วิมุตฺตานํ |
มาโร มคฺคํ น วินฺทติ. |
|
มารค้นหาอยู่ ย่อมไม่พบทางของท่านผู้มีศีลสมบูรณ์ อยู่ด้วย
ความไม่ประมาท หลุดพ้นแล้ว เพราะรู้ชอบ. |
|
( พุทฺธ ) |
ขุ. ธ. ๒๕/๒๒. |
|
|
|
๒๐๗. |
สีลํ พลํ อปฺปฏิมํ |
สีลํ อาวุธมุตฺตมํ |
|
สีลํ อาภรณํ เสฏฺํ |
สีลํ กวจมพฺภุตํ. |
|
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด ศีลเป็นเครื่อง
ประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์. |
|
( สีลวเถร ) |
ขุ. เถร. ๒๖/๓๕๘. |
|
|
|
๒๐๘. |
สีลเมว อิธ อคฺคํ |
ปญฺวา ปน อุตฺตโม |
|
มนุสฺเสสุ จ เทเวสุ |
สีลปญฺาณโต ชยํ. |
|
ศีลเท่านั้นเป็นเลิสในโลกนี้ ส่วนผู้มีปัญญาเป็นผู้สูงสุด ความ
ชนะในหมู่มนุษย์และเทวดา ย่อมมีเพราะศีลและปัญญา. |
|
( สีลวเถร ) |
ขุ. เถร. ๒๖/๓๕๘. |
|
|
|
๒๐๙. |
สีลํ สมฺพลเมวคฺคํ |
สีลํ ปาเถยฺยมุตฺตมํ |
|
สีลํ เสฏฺโ อติวาโห |
เยน วาติ ทิโส ทิสํ. |
|
ศีลเป็นคุณรวมกำลังอย่างเลิศ ศีลเป็นเสบียงทางอย่างสูงสุด
ศีลเป็นผู้นำทางอย่างประเสริฐสุด เพราะศีล (มีกลิ่น) ขจรไป
ทั่วทุกทิศ. |
|
( สีลวเถร ) |
ขุ. เถร. ๒๖/๓๕๘. |
|
|
|
๒๑๐. |
สีลํ เสตุ มเหสกฺโข |
สีลํ คนฺโธ อนุตฺตโร |
|
สีลํ วิเลปนํ เสฏฺํ |
เยน วาติ ทิโส ทิสํ. |
|
ศีลเป็นสะพานอันสำคัญ ศีลเป็นกลิ่นที่ไม่มีกลิ่นอื่นยิ่งกว่า
ศีลเป็นเครื่องลูบไล้อันเประเสริฐสุด เพราะศีล (มีกลิ่น) ขจรไป
ทั่วทุกทิศ. |
|
( สีลวเถร ) |
ขุ. เถร. ๒๖/๓๕๘. |
|
|
|