|
๑๘๘. |
อจฺเจนฺติ กาลา ตรยนฺติ รตฺติโย
วโยคุณา อนุปุพฺพํ ชหนฺติ
เอตํ ภยํ มรเณ เปกฺขมาโน
ปฺุานิ กยิราถ สุขาวหานิ.
|
|
กาลย่อมล่วงไป ราตรีย่อมผ่านไป ชั้นแห่งวัยย่อมละลำดับไป
ผู้เล็งเห็นภัยในมรณะนั้น พึงทำบุญอันนำสุขมาให้. |
|
( นนฺทเทวปุตฺต ) |
สํ. ส. ๑๕/๘๙. |
|
|
|
๑๘๙. |
ผลานมิว ปกฺกานํ |
ปาโต ปตนโต ภยํ |
|
เอวํ ชาตาน มจฺจานํ |
นิจฺจํ มรณโต ภยํ. |
|
ภัยของสัตว์ผู้เกิดมาแล้ว ย่อมมีเพราะต้องตายแน่นอน เหมือน
ภัยของผลไม้สุก ย่อมมีเพราะต้องหล่นในเวลาเช้าฉะนั้น. |
|
( พุทฺธ ) |
ขุ. สุ. ๒๕/๔๔๘.
ขุ. มหา. ๒๙/๑๔๕. |
|
|
|
๑๙๐. |
รูปธาตุปริฺาย |
อรูเปสุ อสณฺิตา |
|
นิโรเธ เย วิมุจฺจนฺติ |
เต ชนา มจฺจุหายิโน. |
|
ชนเหล่าใด กำหนดรู้รูปธาตุ ไม่ตั้งอยู่ในอรูปธาตุ ย่อม
หลุดพ้นไปได้ในนิโรธธาตุ, ชนเหล่านั้น ชื่อว่าเป็นผู้ละมัจจุได้. |
|
( พุทฺธ ) |
ขุ. อิติ. ๒๕/๒๖๕. |
|
|
|
มัจจุวรรค คือ หมวดความตาย |
|
|