๒๐๒.
วิวาทํ ภยโต ทิสฺวา
อวิวาทญฺจ เขมโต
สมคฺคา สขิลา โหถ
เอสา พุทฺธานุสาสนี
.
ท่านทั้งหลายจงเห็นความวิวาทโดยความเป็นภัย และความไม่
วิวาทโดยความปลอดภัยแล้ว เป็นผู้พร้อมเพรียง มีความประนี
ประนอมกันเถิด. นี้เป็นพระพุทธานุศาสนี.
( พุทฺธ )
ขุ. จริยา. ๓๓/๕๙๕.
๒๐๓.
สามคฺยเมว สิกฺเขถ
พุทฺเธเหตํ ปสํสิตํ
สามคฺยรโต ธมฺมฏฺโ
โยคกฺเขมา น ธํสติ
.
พึงศึกษาความสามัคคี, ความสามัคคีนั้น ท่านผู้รู้ทั้งหลาย
สรรเสริญแล้ว, ผู้ยินดีในสามัคคี ตั้งอยู่ในธรรม ย่อมไม่คลาด
จากธรรมอันเกษมจากโยคะ.
( พุทฺธ )
ขุ. ชา. เตรส. ๒๗/๓๔๖.
๒๐๔.
สุขา สงฺฆสฺส สามคฺคี
สมคฺคานญฺจนุคฺคโห
สมคฺครโต ธมฺมฏฺโ
โยคกฺเขมา น ธํสติ
.
ความพร้อมเพรียงของหมู่เป็นสุข และการสนับสนุนคนผู้พร้อม
เพรียงกันก็เป็นสุข, ผู้ยินดีในคนผู้พร้อมเพรียงกัน ตั้งอยู่ในธรรม
ย่อมไม่คลาดจากธรรมอันเกษมจากโยคะ.
( พุทฺธ )
ขุ. อิติ. ๒๕/๒๓๘.
สามัคคีวรรค คือ หมวดสามัคคี
พุทธศาสนสุภาษิต
๑. หมวดตน
๒. หมวดไม่ประมาท
๓. หมวดกรรม
๔. หมวดกิเลส
๕. หมวดอดทน
๖. หมวดจิต
๗. หมวดทาน
๘. หมวดธรรม
๙. หมวดเบ็ดเตล็ด
๑๐. หมวดปัญญา
๑๑. หมวดบุคคล
๑๒. หมวดความตาย
๑๓. หมวดวาจา
๑๔. หมวดความเพียร
๑๕. หมวดสามัคคี
๑๖. หมวดศีล
๑๗. หมวดคบหา
อักษรย่อนามคัมภีร์