สมณวรรค คือ หมวดสมณะ
๔๔๘.
สมณีธ อรณา โลเก
.
สมณะในศาสนานี้ ไม่เป็นข้าศึกในโลก.
สํ. ส. ๑๕/๖๑.
๔๔๙.
น หิ ปพฺพชิโต ปรูปฆาตี
สมโณ โหติ ปรํ วิเหยนฺโต
.
บรรพชิตฆ่าผู้อื่นเบียดเบียนผู้อื่น ไม่เป็นสมณะเลย.
ที. มหา. ๑๐/๕๗. ขุ. ธ. ๒๕/๔๐.
๔๕๐.
อสญฺโต ปพฺพชิโต น สาธุ
.
บรรพชิตผู้ไม่สำรวม ไม่ดี.
ขุ. ชา. วีส. ๒๗/๔๔๖.
๔๕๑.
อเปโต ทมสจฺเจน
น โส กาสาวมรหติ
.
ผู้ปราศจากทมะและสัจจะ ไม่ควรครองผ้ากาสาวะ.
ขุ. ธ. ๒๕/๑๖. ขุ. ชา. ทุก. ๒๗/๘๓. ขุ. เถร. ๒๖/๔๐๐.
๔๕๒.
อุเปโต ทมสจฺเจน
ส เว กาสาวมรหติ
.
ผู้ประกอบด้วยทมะและสัจจะนั้นแล ควรครองผ้ากาสาวะ.
ขุ. ธ. ๒๕/๑๖. ขุ. ชา. ทุก. ๒๗/๘๓. ขุ. เถร. ๒๖/๔๐๐.
๔๕๓.
สุภาสิตทฺธชา อิสโย
.
ฤษีทั้งหลาย มีสุภาษิตเป็นธงชัย.
สํ. นิ. ๑๖/๓๒๖. องฺ. จตุกฺก. ๒๑/๖๖. ขุ. ชา. อสีติ. ๒๘/๑๕๒.
๔๕๔.
สมโณ อสฺส สุสฺสมโณ
.
สมณะ พึงเป็นสมณะที่ดี.
วิ. มหาวิภงฺค. ๑/๒๙๘.
๔๕๕.
สามญฺเ สมโณ ติฏฺเ
.
สมณะ พึงตั้งอยู่ในภาวะแห่งสมณะ.
ส. ส.
พุทธศาสนสุภาษิต
๑๘. หมวดมฤตยู
๑๙. หมวดมิตร
๒๐. หมวดขอ
๒๑. หมวดพระราชา
๒๒. หมวดวาจา
๒๓. หมวดความเพียร
๒๔. หมวดเวร
๒๕. หมวดความสัตย์
๒๖. หมวดสติ
๒๗. หมวดศรัทธา
๒๘. หมวดสันโดษ
๒๙. หมวดสมณะ
๓๐. หมวดสามัคคี
๓๑. หมวดศีล
๓๒. หมวดสุข
๓๓. หมวดคบหา
๓๔. อักษรย่อนามคัมภีร์
๑. หมวดตน
๒. หมวดไม่ประมาท
๓. หมวดกรรม
๔. หมวดกิเลส
๕. หมวดโกรธ
๖. หมวดอดทน
๗. หมวดจิต
๘. หมวดชนะ
๙. หมวดทาน
๑๐. หมวดทุกข์
๑๑. หมวดธรรม
๑๒. หมวดเบ็ดเตล็ด
๑๓. หมวดปัญญา
๑๔. หมวดประมาท
๑๕. หมวดบาป
๑๖. หมวดบุคคล
๑๗. หมวดบุญ