ธัมมวรรค คือ หมวดธรรม
๑๖๒.
ธมฺโม รหโท อกทฺทโม
.
ธรรมเหมือนห้วงน้ำไม่มีตม.
ขุ. ชา. ฉกฺก. ๒๗/๒๐๒.
๑๖๓.
มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา
.
ธรรมทั้งหลาย มีใจเป็นหัวหน้า.
ขุ. ธ. ๒๕/๑๕.
๑๖๔.
ธมฺโม หิ อิสีนํ ธโช
.
ธรรมแล เป็นธงชัยของพวกฤษี.
สํ. นิ. ๑๖/๒๖. องฺ. จตุกฺก. ๒๑/๖๖. ขุ. ชา. อสีติ. ๒๘/๑๕๒.
๑๖๕.
สตํ ธมฺโม ทุรนฺวโย
.
ธรรมของสัตบุรุษ รู้ได้ยาก.
สํ. ส. ๑๕/๒๖. ขุ. ชา. ทุก. ๒๗๑๖๓. ขุ. ชา. ทสก. ๒๗๑๒๙๔.
๑๖๖.
สตญฺจ ธมฺโม น ชรํ อุเปติ
.
ธรรมของสัตบุรุษ ไม่เข้าถึงความคร่ำคร่า.
สํ. ส. ๑๕/๑๐๒. ขุ. ธ. ๒๕/๓๕. ขุ. ชา. อสีติ. ๒๘/๑๓๖.
๑๖๗.
สทฺธมฺโม สพฺภิ รกฺขิโต
.
ธรรมของสัตบุรุษ อันสัตบุรุษรักษา.
ที. มหา. ๑๐/๒๗๙.
๑๖๘.
ธมฺโม สุจิณฺโณ สุขมาวหาติ
.
ธรรมที่ประพฤติดีแล้ว นำสุขมาให้.
สํ. ส. ๑๕/๕๘. ขุ. สุ. ๒๕/๓๖๐.
ขุ. ชา. ทสก. ๒จ/๒๙๐. ขุ. เถร. ๒๖/๓๑๔.
๑๖๙.
สพฺเพสํ สหิโต โหติ
สทฺธมฺเม สุปติฏฺิโต
.
ผู้ตั้งมั่นในสัทธรรม เป็นผู้เกื้อกูลแก่คนทั้งปวง.
องฺ. อฏฺก. ๒๓/๒๔๙.
๑๗๐.
ธมฺมปีติ สุขํ เสติ
.
ผู้มีปีติในธรรม อยู่เป็นสุข.
ขุ. ธ. ๒๕/๒๕.
๑๗๑.
ธมฺมจารี สุขํ เสติ
.
ผู้ประพฤติธรรม อยู่เป็นสุข.
ขุ. ธ. ๒๕/๓๗, ๓๘. ขุ. อุ. ๒๕/๓๖๖.
๑๗๒.
ธมฺโม หเว รกฺขติ ธมฺมจารึ
.
ธรรมแล ย่อมรักษาผู้ประพฤติธรรม.
ขุ. ชา. ทสกฺ ๒๗/๒๙๐. ขุ. เถร. ๒๖/๓๑๔.
๑๗๓.
น ทุคฺคตึ คจฺฉติ ธมฺมจารี
.
ผู้ประพฤติธรรม ไม่ไปสู่ทุคติ.
ขุ. ชา. ทสก. ๒๗/๙๐. ขุ. เถร. ๒๖/๓๑๔.
๑๗๔.
ธมฺเม ิตํ น วิชหาติ กิตฺติ
.
เกียรติ ย่อมไม่ละผู้ตั้งอยู่ในธรรม.
องฺ. ปญฺจก. ๒๓/๕๑.
๑๗๕.
ธมฺเม ิตา เย น กโรนฺติ ปาปกํ
.
ผู้ตั้งอยู่ในธรรม ย่อมไม่ทำบาป.
องฺ. จตุตกฺก. ๒๑/๒๕.
๑๗๖.
สพฺเพ ธมฺมา นาลํ อภินิเวสาย
.
สภาวธรรมทั้งปวง ไม่ควรถือมั่น.
ม. ม. ๑๒/๔๖๔.
๑๗๗.
โยนิโส วิจิเน ธมฺมํ
.
พึงเลือกเฟ้นธรรมโดยแยบคาย.
ม. อุปฺ ๑๔/๔๗๑. สํ. ส. ๑๕/๗๘. องฺ. สตฺตก. ๒๓/๓.
๑๗๘.
ธมฺมํ จเร สุจริตํ
น ตํ ทุจฺจริตํ จเร
.
พึงประพฤติธรรมให้สุจริต ไม่ควรประพฤติให้ทุจริต.
ขุ. ธ. ๒๕/๓๘. ขุ. อุ. ๒๕/๓๖๖.
๑๗๙.
สทฺธมฺโม ครุกาตพฺโพ
.
ควรเคารพสัทธรรม.
องฺ. จตุกฺก. ๒๑/๒๗.
๑๘๐.
กณฺหํ ธมฺมํ วิปฺปหาย
.
บัณฑิตควรละธรรมดำเสีย.
สํ. มหา. ๑๙/๒๙. ขุ. ธ. ๒๕/๒๖.
๑๘๑.
สุกฺกํ ภาเวถ ปณฺฑิโต
.
บัณฑิตควรเจริญธรรมขาว.
สํ. มหา. ๑๙/๒๙. ขุ. ธ. ๒๕/๒๖.
พุทธศาสนสุภาษิต
๑. หมวดตน
๒. หมวดไม่ประมาท
๓. หมวดกรรม
๔. หมวดกิเลส
๕. หมวดโกรธ
๖. หมวดอดทน
๗. หมวดจิต
๘. หมวดชนะ
๙. หมวดทาน
๑๐. หมวดทุกข์
๑๑. หมวดธรรม
๑๒. หมวดเบ็ดเตล็ด
๑๓. หมวดปัญญา
๑๔. หมวดประมาท
๑๕. หมวดบาป
๑๖. หมวดบุคคล
๑๗. หมวดบุญ
๑๘. หมวดมฤตยู
๑๙. หมวดมิตร
๒๐. หมวดขอ
๒๑. หมวดพระราชา
๒๒. หมวดวาจา
๒๓. หมวดความเพียร
๒๔. หมวดเวร
๒๕. หมวดความสัตย์
๒๖. หมวดสติ
๒๗. หมวดศรัทธา
๒๘. หมวดสันโดษ
๒๙. หมวดสมณะ
๓๐. หมวดสามัคคี
๓๑. หมวดศีล
๓๒. หมวดสุข
๓๓. หมวดคบหา
๓๔. อักษรย่อนามคัมภีร์