ราชวรรค คือ หมวดพระราชา
๓๙๑.
ราชา รฏฺสฺส ปญฺาณํ
.
พระราชา เป็นเครื่องปรากฏของแว่นแคว้น.
สํ. ส. ๑๕/๕๗.
๓๙๒.
ราชา มุขํ มนุสฺสานํ
.
พระราชา เป็นประมุขของประชาชน.
วิ. มหา. ๕/๑๒๔. ม. ม. ๑๓/๕๕๖. ขุ. ส. ๒๕/๔๔๖.
๓๙๓.
สพฺพํ รฏฺํ สุขํ โหติ
ราชา เจ โหติ ธมฺมิโก
.
ถ้าพระราชาเป็นผู้ทรงธรรม ราษฎรทั้งปวงก็เป็นสุข.
องฺ. จตุตก. ๒๑/๙๙. ขุ. ชา. จตุกฺก. ๒๗/๑๕๒.
๓๙๔.
กุทฺธํ อปฺปฏิกุชฺฌนฺโต
ราชา รฏฺสฺส ปูชิโต
.
พระราชาผู้ไม่กริ้วตอบผู้โกรธ ราษฎรก็บูชา.
ขุ. ชา. จตุกฺก. ๒๗/๑๘๗.
๓๙๕.
สนฺนทฺโธ ขตฺติโย ตปติ
.
พระมหากษัตริย์ทรงเครื่องรบ ย่อมสง่า.
สํ. นิ. ๑๖/๓๓๑. ขุ. ธ. ๒๕/๖๗.
๓๙๖.
ขตฺติโย เสฏฺโ ชเนตสฺมึ
เย โคตฺตปฏิสาริโน
.
พระมหากษัตริย์เป็นผู้ประเสริฐสุด ในหมู่ชนผู้รังเกียจด้วยสกุล.
ที. ปาฏิ. ๑๑/๑๐๗. ม. ม. ๑๓/๓๒. สํ. ส. ๑๕/๒๒๕.
สํ. นิ. ๑๖/๓๓๑.
๓๙๗.
ปุตฺตกํ วิย ราชาโน
ปชํ รกฺขนฺตุ สพฺพทา
.
พระราชาจงรักษาประชาราษฎร์ ให้เหมือนบิดารักษาบุตรทุกเมื่อ.
นัย-ส. ส.
พุทธศาสนสุภาษิต
๑๘. หมวดมฤตยู
๑๙. หมวดมิตร
๒๐. หมวดขอ
๒๑. หมวดพระราชา
๒๒. หมวดวาจา
๒๓. หมวดความเพียร
๒๔. หมวดเวร
๒๕. หมวดความสัตย์
๒๖. หมวดสติ
๒๗. หมวดศรัทธา
๒๘. หมวดสันโดษ
๒๙. หมวดสมณะ
๓๐. หมวดสามัคคี
๓๑. หมวดศีล
๓๒. หมวดสุข
๓๓. หมวดคบหา
๓๔. อักษรย่อนามคัมภีร์
๑. หมวดตน
๒. หมวดไม่ประมาท
๓. หมวดกรรม
๔. หมวดกิเลส
๕. หมวดโกรธ
๖. หมวดอดทน
๗. หมวดจิต
๘. หมวดชนะ
๙. หมวดทาน
๑๐. หมวดทุกข์
๑๑. หมวดธรรม
๑๒. หมวดเบ็ดเตล็ด
๑๓. หมวดปัญญา
๑๔. หมวดประมาท
๑๕. หมวดบาป
๑๖. หมวดบุคคล
๑๗. หมวดบุญ