สัจจวรรค คือ หมวดความสัตย์
๔๒๗.
สจฺจํ หเว สาธุตรํ รสานํ
.
ความสัตย์นั่นแล ดีกว่ารสทั้งหลาย.
สํ. ส. ๑๕/๕๘. ขุ. ชา. ๒๕/๓๖๐.
๔๒๘.
สจฺจํ เว อมตา วาจา
.
คำสัตย์แล เป็นวาจาไม่ตาย.
สํ. ส. ๑๕/๒๗๘. ขุ. เถร. ๒๖/๔๓๔.
๔๒๙.
สจฺเจน กิตฺตึ ปปฺโปติ
.
คนได้เกียรติ (ชื่อเสียง) เพราะความสัตย์.
สํ. ส. ๑๕/๓๑๖. ขุ. สุ. ๒๕/๓๖๑.
๔๓๐.
สจฺเจน อตฺเถ จ ธมฺเม จ
อหุ สนฺโต ปติฏฺิตา
.
สัตบุรุษได้ตั้งมั่นในความสัตย์ที่เป็นอรรถและเป็นธรรม.
สํ. ส. ๑๕/๒๗๘. ขุ. สุ. ๒๕/๔๑๒. ขุ. เถร. ๒๖/๔๓๔.
๔๓๑.
สจฺจมนุรกฺเขยฺย
.
พึงตามรักษาความสัตย์.
ม. อุป. ๑๔/๔๓๖.
พุทธศาสนสุภาษิต
๑๘. หมวดมฤตยู
๑๙. หมวดมิตร
๒๐. หมวดขอ
๒๑. หมวดพระราชา
๒๒. หมวดวาจา
๒๓. หมวดความเพียร
๒๔. หมวดเวร
๒๕. หมวดความสัตย์
๒๖. หมวดสติ
๒๗. หมวดศรัทธา
๒๘. หมวดสันโดษ
๒๙. หมวดสมณะ
๓๐. หมวดสามัคคี
๓๑. หมวดศีล
๓๒. หมวดสุข
๓๓. หมวดคบหา
๓๔. อักษรย่อนามคัมภีร์
๑. หมวดตน
๒. หมวดไม่ประมาท
๓. หมวดกรรม
๔. หมวดกิเลส
๕. หมวดโกรธ
๖. หมวดอดทน
๗. หมวดจิต
๘. หมวดชนะ
๙. หมวดทาน
๑๐. หมวดทุกข์
๑๑. หมวดธรรม
๑๒. หมวดเบ็ดเตล็ด
๑๓. หมวดปัญญา
๑๔. หมวดประมาท
๑๕. หมวดบาป
๑๖. หมวดบุคคล
๑๗. หมวดบุญ