ปัญหาและเฉลย
วิชาธรรม ธรรมศึกษาชั้นตรี ระดับอุดมศึกษาและประชาชนทั่วไป
สอบในสนามหลวง
วันพฤหัสบดี ที่ ๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๑
เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๓.๕๐ น.
คำสั่ง :
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑.
พหุปการธรรม หมายถึงข้อใด ?
ก.
สติสัมปชัญญะ
ข.
หิริโอตตัปปะ
ค.
ขันติโสรัจจะ
ง.
กตัญญููกตเวที
๒.
บุคคลในข้อใด ควรใช้สติสัมปชัญญะมากที่สุด ?
ก.
คนข้ามถนน
ข.
คนขับรถ
ค.
คนซื้อสลาก
ง.
คนขายสลาก
๓.
คำว่า พลั้งปากเสียศีล พลั้งตีนตกต้นไม้ เป็นอาการของคนขาดธรรมใด ?
ก.
สติ
ข.
ศีล
ค.
สมาธิ
ง.
ปัญญา
๔.
เทวธรรม หมายถึงข้อใด ?
ก.
สติสัมปชัญญะ
ข.
หิริโอตตัปปะ
ค.
ขันติโสรัจจะ
ง.
กตัญญููกตเวที
๕.
หิริโอตตัปปะ คุ้มครองโลกได้โดยวิธีใด ?
ก.
คนไม่กล้าทำชั่ว
ข.
ส่งเสริมให้ทำดี
ค.
ยกย่องคนทำดี
ง.
ลงโทษคนทำชั่ว
๖.
อาภรณ์แต่งกาย แต่ใจแต่งด้วยธรรม หมายถึงธรรมข้อใด ?
ก.
สติสัมปชัญญะ
ข.
หิริโอตตัปปะ
ค.
ขันติโสรัจจะ
ง.
เมตตากรุณา
๗.
งามอะไรไม่ขึ้นอยู่กับกาลเวลา ?
ก.
เสื้อผ้า
ข.
กิริยา
ค.
หน้าตา
ง.
คุณธรรม
๘.
จะรู้ได้อย่างไรว่า คนที่เราคบด้วยเป็นคนดี ?
ก.
อัธยาศัยดี
ข.
ขยันทำงาน
ค.
รู้จักแทนคุณ
ง.
ขยันเรียน
๙.
พระสงฆ์ในคำว่า “สุปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ” หมายถึงใคร ?
ก.
ภิกษุสงฆ์
ข.
ภิกษุณีสงฆ์
ค.
อริยสงฆ์
ง.
สมมติสงฆ์
๑๐.
การประพฤติชั่วทางกาย วาจา ใจ เรียกว่าอะไร ?
ก.
อกุศลมูล
ข.
ทุจริต
ค.
บาป
ง.
มลทิน
๑๑.
ในทุจริต ๓ ทุจริตใด เป็นเหตุให้ทำทุจริตได้ทุกอย่าง ?
ก.
กายทุจริต
ข.
วจีทุจริต
ค.
มโนทุจริต
ง.
ถูกทุกข้อ
๑๒.
สุจริต ๓ เป็นธรรมประเภทใด ?
ก.
ควรประพฤติ
ข.
ควรละ
ค.
ควรลด
ง.
ควรเลิก
๑๓.
อกุศลมูลใด เป็นเหตุแห่งการทำร้ายกัน ?
ก.
โลภะ
ข.
โทสะ
ค.
โมหะ
ง.
ราคะ
๑๔.
อโมหะ แก้ปัญหาเรื่องใด ?
ก.
ใส่ร้าย
ข.
คอรัปชั่น
ค.
งมงาย
ง.
วิวาท
๑๕.
การฟังเทศน์ จัดเข้าในบุญกิริยาวัตถุข้อใด ?
ก.
ทานมัย
ข.
สีลมัย
ค.
ภาวนามัย
ง.
ปัตติทานมัย
๑๖.
คบคนดี ฟังวจีท่าน คิดอ่านปัญหา ค้นคว้าปฏิบัติ ตรงกับหลักธรรมใด ?
ก.
อิทธิบาท
ข.
วุฑฒิ
ค.
พรหมวิหาร
ง.
ปธาน
๑๗.
ประพฤติเช่นไร จึงชื่อว่าตั้งตนไว้ชอบ ?
ก.
ละชั่ว ทำดี
ข.
อยู่ในที่เหมาะสม
ค.
มีกัลยาณมิตร
ง.
ช่วยเหลือสังคม
๑๘.
ค่าของคนอยู่ที่คนของใคร เป็นลักษณะของคนมีอคติข้อใด ?
ก.
ฉันทาคติ
ข.
โทสาคติ
ค.
โมหาคติ
ง.
ภยาคติ
๑๙.
สังวรปธาน มีประโยชน์อย่างไร ?
ก.
ป้องกันอกุศล
ข.
เจริญกุศล
ค.
ละอกุศล
ง.
รักษากุศล
๒๐.
การรักษาความดีไว้ได้ ดุจเกลือรักษาความเค็ม จัดเข้าในปธานใด ?
ก.
สังวรปธาน
ข.
อนุรักขนาปธาน
ค.
ปหานปธาน
ง.
ภาวนาปธาน
๒๑.
จาคะ ในอธิษฐานธรรม มีความหมายตรงกับข้อใด ?
ก.
บริจาคทรัพย์
ข.
บริจาคโลหิต
ค.
สละกิเลส
ง.
สละสิ่งของ
๒๒.
เป็นคนควรพยายามจนกว่าจะประสบความสำเร็จ สอนให้ใช้อิทธิบาทใด ?
ก.
ฉันทะ
ข.
วิริยะ
ค.
จิตตะ
ง.
วิมังสา
๒๓.
การเจริญพรหมวิหาร ท่านสอนให้เริ่มต้นที่ใคร ?
ก.
ตนเอง
ข.
เพื่อนมนุษย์
ค.
ศัตรู
ง.
สรรพสัตว์
๒๔.
สัตว์มีกรรมเป็นของตน ต้องรับผลกรรมที่ทำไว้ ชื่อว่าเจริญพรหมวิหารใด ?
ก.
เมตตา
ข.
กรุณา
ค.
มุทิตา
ง.
อุเบกขา
๒๕.
เมื่อเกิดความทุกข์ ต้องทำอย่างไร ?
ก.
ควรกำหนดรู้
ข.
ควรละ
ค.
ควรทำให้แจ้ง
ง.
ควรเจริญ
๒๖.
อนันตริยกรรม ๕ ให้ผลอย่างไร ?
ก.
เกิดเป็นเปรต
ข.
เกิดเป็นอสูรกาย
ค.
ตกนรกอเวจี
ง.
เกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน
๒๗.
ข้อใด ไม่จัดเข้าในเวสารัชชกรณธรรม ?
ก.
ศรัทธา
ข.
ศีล
ค.
พาหุสัจจะ
ง.
สติ
๒๘.
ข้อใด จัดเป็นเวสารัชชกรณธรรม ?
ก.
ปัญญา
ข.
ขันติ
ค.
จาคะ
ง.
สมาธิ
๒๙.
คุณธรรมใด ทำจิตให้มั่นคงอยู่ในกุศลธรรม ?
ก.
สัทธา
ข.
วิริยะ
ค.
สติ
ง.
สมาธิ
๓๐.
กายกับใจ แบ่งออกเป็นกอง เรียกว่าอะไร ?
ก.
สังขาร
ข.
ขันธ์
ค.
สัญญา
ง.
วิญญาณ
๓๑.
การรู้สัมผัสว่าร้อน หนาว เย็น จัดเป็นอะไรในขันธ์ ๕ ?
ก.
รูป
ข.
เวทนา
ค.
สัญญา
ง.
วิญญาณ
๓๒.
ทำอย่างไร ชื่อว่าเคารพในความไม่ประมาท ?
ก.
มีศีล
ข.
มีสมาธิ
ค.
มีปัญญา
ง.
มีสติ
๓๓.
สาราณิยธรรม ๖ สอนให้เป็นคนเช่นไร ?
ก.
พอเพียง
ข.
ซื่อสัตย์
ค.
ไม่ทำบาป
ง.
รู้รักสามัคคี
๓๔.
ข้อใด ไม่จัดเข้าในอริยทรัพย์ ?
ก.
สมาธิ
ข.
สัทธา
ค.
ศีล
ง.
หิริ
๓๕.
ในสัปปุริสธรรม สัตบุรุษสูงสุด หมายถึงใคร ?
ก.
พระอรหันต์
ข.
พระพุทธเจ้า
ค.
พระขีณาสพ
ง.
พระสาวก
๓๖.
การรู้จักวางตนเหมาะสมตามฐานะ จัดเข้าในสัปปุริสธรรมข้อใด ?
ก.
ธัมมัญญุตา
ข.
อัตถัญญุตา
ค.
อัตตัญญุตา
ง.
มัตตัญญุตา
๓๗.
สัมมาสังกัปปะ สนับสนุนเรื่องใด ?
ก.
ไม่ผิดศีล
ข.
ไม่พยาบาท
ค.
ไม่ฆ่าสัตว์
ง.
ไม่พูดเท็จ
๓๘.
ข้อใด ไม่จัดเป็นกรรมกิเลส ?
ก.
ฆ่าสัตว์
ข.
ลักทรัพย์
ค.
พูดเท็จ
ง.
ดื่มสุรา
๓๙.
อุฏฐานสัมปทา มีความหมายตรงกับข้อใด ?
ก.
ขยันหา
ข.
รักษาดี
ค.
มีกัลยาณมิตร
ง.
เลี้ยงชีพพอเหมาะ
๔๐.
เพื่อนที่คิดเอาแต่ได้ฝ่ายเดียว จัดเข้าในมิตรประเภทใด ?
ก.
ปอกลอก
ข.
ดีแต่พูด
ค.
หัวประจบ
ง.
ชักชวนทำชั่ว
๔๑.
มิตรมีความรักใคร่ มีลักษณะเช่นไร ?
ก.
ป้องกันภัย
ข.
ตายแทนได้
ค.
ร่วมสุขร่วมทุกข์
ง.
รักษาความลับ
๔๒.
ผู้ประพฤติตนเสมอต้นเสมอปลาย ตรงกับสังคหวัตถุข้อใด ?
ก.
ทาน
ข.
ปิยวาจา
ค.
อัตถจริยา
ง.
สมานัตตตา
๔๓.
งานหนักไม่เอา งานเบาไม่สู้ เพราะขาดฆราวาสธรรมใด ?
ก.
สัจจะ
ข.
ทมะ
ค.
ขันติ
ง.
จาคะ
๔๔.
ค้าขายอะไร จัดเป็นมิจฉาวณิชชา ?
ก.
วัตถุโบราณ
ข.
อาหารเสริม
ค.
เครื่องสังฆทาน
ง.
อาวุธ
๔๕.
ในทิศ ๖ หน้าที่ของมารดาบิดา ตรงกับข้อใด ?
ก.
แนะนำดี
ข.
ให้การศึกษา
ค.
ไม่ดูหมิ่น
ง.
ยกย่อง
๔๖.
ทิศเบื้องซ้าย หมายถึงใคร ?
ก.
ครูอาจารย์
ข.
มารดาบิดา
ค.
ภรรยา
ง.
มิตร
๔๗.
ห้ามไม่ทำความชั่วให้ทำความดี เป็นหน้าที่ของใคร ?
ก.
ครูอาจารย์
ข.
สามี
ค.
มิตร
ง.
สมณพราหมณ์
๔๘.
ดื่มนํ้าเมา มีโทษอย่างไร ?
ก.
เป็นที่ระแวง
ข.
ทอนกำลังปัญญา
ค.
ถูกใส่ความ
ง.
ก่อเวร
๔๙.
เที่ยวกลางคืน มีโทษอย่างไร ?
ก.
เสียทรัพย์
ข.
ถูกติเตียน
ค.
ก่อวิวาท
ง.
เป็นที่ระแวง
๕๐.
เมื่อชนะย่อมก่อเวร เป็นโทษของอบายมุขใด ?
ก.
ดื่มนํ้าเมา
ข.
เที่ยวกลางคืน
ค.
เล่นการพนัน
ง.
เที่ยวดูการเล่น
เอกสารอ้างอิง
เรื่องสอบธรรม ของสนามหลวงแผนกธรรม พ.ศ.๒๕๖๑. หน้า
ข้อสอบสนามหลวง
พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๑
พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๖๕
พ.ศ. ๒๕๖๖
พ.ศ. ๒๕๖๗
พ.ศ. ๒๕๖๘
พ.ศ. ๒๕๖๙
พ.ศ. ๒๕๗๐
พ.ศ. ๒๕๗๑
พ.ศ. ๒๕๗๒
พ.ศ. ๒๕๗๓
พ.ศ. ๒๕๗๔
พ.ศ. ๒๕๗๕
พ.ศ. ๒๕๗๖
พ.ศ. ๒๕๗๗
พ.ศ. ๒๕๗๘
พ.ศ. ๒๕๗๙
พ.ศ. ๒๕๘๐
พ.ศ. ๒๕๘๑
พ.ศ. ๒๕๘๒
พ.ศ. ๒๕๘๓
พ.ศ. ๒๕๘๔
พ.ศ. ๒๕๘๕
พ.ศ. ๒๕๘๖
พ.ศ. ๒๕๘๗
พ.ศ. ๒๕๘๘
พ.ศ. ๒๕๘๙
พ.ศ. ๒๕๙๐
พ.ศ. ๒๕๙๑
พ.ศ. ๒๕๙๒
พ.ศ. ๒๕๙๓
พ.ศ. ๒๕๙๔
พ.ศ. ๒๕๙๕
พ.ศ. ๒๕๙๖
พ.ศ. ๒๕๙๗
พ.ศ. ๒๕๙๘
พ.ศ. ๒๕๙๙
พ.ศ. ๒๖๐๐
พ.ศ. ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๙