ปัญหาและเฉลย
วิชาธรรม ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันจันทร์ ที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕
เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๓.๕๐ น.
คำสั่ง :
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วฝนลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑.
สติสัมปชัญญะ จัดเป็นธรรมอะไร ?
ก.
ธรรมเป็นโลกบาล
ข.
ธรรมมีอุปการะมาก
ค.
ธรรมอันทำให้งาม
ง.
ธรรมหาได้ยาก
๒.
บุคคลในข้อใด ควรใช้สติสัมปชัญญะมากที่สุด ?
ก.
ผู้รักษาความปลอดภัย
ข.
พนักงานขับรถ
ค.
พนักงานทำความสะอาด
ง.
พนักงานไปรษณีย์
๓.
ข้อใด เป็นลักษณะของผู้มีธรรมเป็นโลกบาล ?
ก.
กล้าหาญอดทน
ข.
ซื่อสัตย์สุจริต
ค.
ไม่ประมาท
ง.
ละอายชั่วกลัวบาป
๔.
ธรรมใด เป็นพื้นฐานให้คนมีศีลธรรม ?
ก.
สติ สัมปชัญญะ
ข.
ขันติ โสรัจจะ
ค.
หิริ โอตตัปปะ
ง.
กตัญญูกตเวทิตา
๕.
ความงามข้อใดสำคัญที่สุด ?
ก.
งามจิตใจ
ข.
งามกิริยามารยาท
ค.
งามร่างกาย
ง.
งามเครื่องประดับ
๖.
ข้อใด เป็นลักษณะของผู้มีความงามตามหลักธรรม ?
ก.
ไม่ยินดียินร้าย
ข.
อดกลั้นไม่หวั่นไหว
ค.
ไม่กระวนกระวาย
ง.
ไม่ตื่นตระหนก
๗.
ธรรมข้อใด จัดเป็นเครื่องหมายของคนดี ?
ก.
กตัญญูกตเวทิตา
ข.
เมตตากรุณา
ค.
ประหยัดอดออม
ง.
ขยันอดทน
๘.
บุตรธิดาเมื่อระลึกถึงคุณมารดาบิดาควรตอบแทนอย่างไร ?
ก.
ตั้งใจเรียน
ข.
เชื่อฟัง
ค.
ช่วยแบ่งเบาภาระ
ง.
จัดการงานดี
๙.
ข้อใด ตรงกับความหมายของคำว่า พุทธะ ?
ก.
ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน
ข.
ผู้สว่าง สะอาด สงบ
ค.
ผู้ประพฤติดีปฏิบัติชอบ
ง.
ผู้ควรทำอัญชลี
๑๐.
ข้อใด เป็นคุณของพระธรรม ?
ก.
ทำให้เป็นเทวดา
ข.
ทำให้มีความสุข
ค.
ไม่ทำให้เดือดร้อน
ง.
ไม่ให้ตกไปในที่ชั่ว
๑๑.
หน้าที่หลักของพระสงฆ์คือข้อใด ?
ก.
บิณฑบาต ทำพิธี
ข.
เรียน ปฏิบัติ สอน
ค.
อบรมกัมมัฏฐาน
ง.
ช่วยเหลือสังคม
๑๒.
ปฏิบัติอย่างไร จึงจะเชื่อว่าทำตามพระโอวาทของพระพุทธเจ้า ?
ก.
ให้ทาน รักษาศีล ทำสมาธิ
ข.
สำรวมกาย วาจา ใจ
ค.
ละชั่ว ทำดี ทำใจให้ผ่องใส
ง.
เจริญสมถะและวิปัสสนา
๑๓.
สังคมแตกร้าวเพราะวจีทุจริตข้อใด ?
ก.
พูดเท็จ
ข.
พูดคำหยาบ
ค.
พูดส่อเสียด
ง.
พูดเพ้อเจ้อ
๑๔.
ข้อใด ไม่จัดเป็นมโนทุจริต ?
ก.
โลภอยากได้ของเขา
ข.
พยาบาทปองร้ายเขา
ค.
เห็นผิดจากคลองธรรม
ง.
ก่อการทะเลาะวิวาท
๑๕.
เห็นอย่างไรชื่อว่าเห็นผิดจากคลองธรรม ?
ก.
ทำดีได้ดี
ข.
ทำชั่วได้ชั่ว
ค.
ดีเองชั่วเอง
ง.
บาปบุญมีจริง
๑๖.
คนจะดีหรือชั่วเพราะอะไร ?
ก.
การศึกษา
ข.
การกระทำ
ค.
เชื้อชาติ
ง.
วงศ์ตระกูล
๑๗.
ข้อใด จัดเป็นมโนสุจริต ?
ก.
ไม่นินทาว่าร้ายคนอื่น
ข.
ไม่ประทุษร้ายคนอื่น
ค.
ไม่เห็นแก่พวกพ้อง
ง.
ไม่โลภอยากได้ของเขา
๑๘.
คนถูกโลภะครอบงำมีลักษณะเช่นใด ?
ก.
โมโหร้าย
ข.
เห็นแก่ตัว
ค.
ชอบโอ้อวด
ง.
เกียจคร้าน
๑๙.
คนถูกโมหะครอบงำมีลักษณะเช่นใด ?
ก.
โมโหร้าย
ข.
หงุดหงิด
ค.
เชื่อง่าย
ง.
ปากจัด
๒๐.
อโทสะเป็นเหตุให้เกิดกุศลธรรมข้อใด ?
ก.
ไม่เห็นแก่ตัว
ข.
ไม่หลงงมงาย
ค.
ไม่ขี้บ่น
ง.
ไม่โมโหร้าย
๒๑.
ธรรมใด เป็นรากเหง้าแห่งคุณธรรม ?
ก.
กุศลมูล
ข.
กุศลกรรมบถ
ค.
สุจริต
ง.
บุญกิริยาวัตถุ
๒๒.
หลักธรรมใด ที่สัตบุรุษบัญญัติไว้ ?
ก.
ทาน ศีล ภาวนา
ข.
ศีล สมาธิ ปัญญา
ค.
ทาน การบวช เลี้ยงดูพ่อแม่
ง.
ละชั่ว ทำดี ทำใจให้ผ่องใส
๒๓.
ข้อใด จัดเป็นบุญตามความหมายบุญกิริยาวัตถุ ?
ก.
ความสุข
ข.
ความยินดี
ค.
ความสงบ
ง.
ความปีติ
๒๔.
ผู้ถูกความตระหนี่ครอบงำควรประพฤติธรรมใด ?
ก.
บริจาคทาน
ข.
รักษาศีล
ค.
เจริญภาวนา
ง.
สำรวมอินทรีย์
๒๕.
โยนิโสมนสิการมีความหมายตรงกับข้อใด ?
ก.
คิดไตร่ตรอง
ข.
คิดวางแผน
ค.
คิดเผื่อแผ่
ง.
คิดจดจำ
๒๖.
เพราะเหตุใด จึงควรคบสัตบุรุษ ?
ก.
เพราะทำให้รวย
ข.
เพราะทำให้สวย
ค.
เพราะทำให้เก่ง
ง.
เพราะทำให้ได้ดี
๒๗.
ปฏิรูปเทสมีลักษณะเช่นไร ?
ก.
มีพื้นที่กว้างขวาง
ข.
มีประชากรมาก
ค.
มีคนดีในสังคมมาก
ง.
มีความสวยงาม
๒๘.
ประพฤติเช่นไร จึงชื่อว่าตั้งตนไว้ชอบ ?
ก.
ละชั่วประพฤติดี
ข.
อยู่ในที่เหมาะสม
ค.
มีกัลยาณมิตร
ง.
ช่วยเหลือผู้อื่น
๒๙.
คำว่า ค่าของคนอยู่ที่คนของใคร จัดเข้าในอคติข้อใด ?
ก.
ฉันทาคติ
ข.
โทสาคติ
ค.
โมหาคติ
ง.
ภยาคติ
๓๐.
จะรักษาความเที่ยงธรรมไว้ได้ต้องเว้นจากอะไร ?
ก.
อกุศล
ข.
อคติ
ค.
ทุจริต
ง.
อบายมุข
๓๑.
เมื่อบาปธรรมเกิดขึ้นควรทำอย่างไร ?
ก.
ควรระวัง
ข.
ควรละ
ค.
ควรพิจารณา
ง.
ควรรักษา
๓๒.
สังวรปธานมีประโยชน์อย่างไร ?
ก.
ป้องกันมิให้อกุศลเกิด
ข.
ป้องกันความเสื่อม
ค.
ละอกุศลธรรม
ง.
รักษากุศลธรรม
๓๓.
สัจจาธิษฐาน ตรงกับข้อใด ?
ก.
อ้อนวอน
ข.
ตั้งใจจริง
ค.
พูดจริงทำจริง
ง.
รู้จริงเห็นจริง
๓๔.
สิ่งที่เป็นข้าศึกแก่ความสงบใจในอธิษฐานธรรม คือข้อใด ?
ก.
รูป เสียง กลิ่น รส
ข.
ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
ค.
ราคะ โทสะ โมหะ
ง.
กาย เวทนา จิต ธรรม
๓๕.
คนทำงานไม่ประสบความสำเร็จ เพราะขาดธรรมใด ?
ก.
วุฑฒิ ๔
ข.
ปธาน ๔
ค.
อิทธิบาท ๔
ง.
พรหมวิหาร ๔
๓๖.
วิริยะควรใช้เมื่อใด ?
ก.
ท้อถอย
ข.
สมหวัง
ค.
ผิดหวัง
ง.
คาดหวัง
๓๗.
คนเช่นไร ชื่อว่าเป็นผู้ไม่ประมาท ?
ก.
มีสติ
ข.
มีศีล
ค.
มีสมาธิ
ง.
มีปัญญา
๓๘.
คนที่ริษยาผู้อื่นเพราะขาดธรรมอะไร ?
ก.
เมตตา
ข.
กรุณา
ค.
มุทิตา
ง.
อุเบกขา
๓๙.
ทุกข์ในอริยสัจ ๔ เกิดจากอะไร ?
ก.
ความอยาก
ข.
ความโกรธ
ค.
ความรัก
ง.
ความมัวเมา
๔๐.
การพิจารณาความเจ็บป่วยเนือง ๆ ช่วยบรรเทาอะไร ?
ก.
ความเมาในวัย
ข.
ความเมาในชีวิต
ค.
ความเห็นผิด
ง.
ความเมาในความไม่มีใคร
๔๑.
คนที่อยู่รวมกันเป็นหมู่คณะควรประพฤติธรรมใด ?
ก.
โพธิปักขิยธรรม
ข.
คารวธรรม
ค.
สาราณิยธรรม
ง.
สัปปุริสธรรม
๔๒.
ทรัพย์ภายในดีกว่าทรัพย์ภายนอกอย่างไร ?
ก.
ยิ่งใช้ยิ่งหมด
ข.
ซื้อขายได้
ค.
แลกเปลี่ยนได้
ง.
โจรขโมยไม่ได้
๔๓.
ผู้วางตนเหมาะสมตามฐานะ จัดเข้าในสัปปุริสธรรมข้อใด ?
ก.
ธัมมัญญุตา
ข.
อัตถัญญุตา
ค.
อัตตัญญุตา
ง.
มัตตัญญุตา
๔๔.
เมื่อโลกธรรมอย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น ควรทำอย่างไร ?
ก.
ไม่ยินดียินร้าย
ข.
ไม่หลงระเริง
ค.
ไม่มัวเมา
ง.
ไม่เพลิดเพลิน
๔๕.
ความเชื่อใด สงเคราะห์เข้าในทิฏฐุชุกัมม์ ?
ก.
เชื่อตามตำรา
ข.
เชื่อในสิ่งที่ถูกต้อง
ค.
เชื่อในสิ่งที่พบเห็น
ง.
เชื่อมั่นในตนเอง
๔๖.
ข้อใด จัดเข้าในสมชีวิตา ?
ก.
รู้จักออมทรัพย์
ข.
รู้จักใช้จ่ายทรัพย์
ค.
รู้จักรักษาทรัพย์
ง.
รู้จักประกอบอาชีพ
๔๗.
ข้อใด จัดเป็นสีลสัมปทา ?
ก.
รักษากาย วาจา
ข.
รักษาจิตใจ
ค.
รักษาสติ
ง.
รักษากุศล
๔๘.
คนปอกลอกมีลักษณะเช่นไร ?
ก.
ออกปากพึ่งไม่ได้
ข.
ลับหลังตั้งนินทา
ค.
จะทำดีก็คล้อยตาม
ง.
คิดเอาแต่ได้
๔๙.
มิตรแท้มีลักษณะเช่นไร ?
ก.
คล้อยตามเพื่อน
ข.
เกรงใจเพื่อน
ค.
เอาใจเพื่อน
ง.
ตายแทนเพื่อน
๕๐.
ข้อใด เป็นหน้าที่ของศิษย์พึงปฏิบัติต่ออาจารย์ในทิศ ๖ ?
ก.
ช่วยเหลือกิจ
ข.
ยกย่อง
ค.
เชื่อฟัง
ง.
ไม่ดูหมิ่น
เอกสารอ้างอิง
เรื่องสอบธรรม ของสนามหลวงแผนกธรรม พ.ศ.๒๕๕๕. หน้า ๑๙๘-๒๐๘.
โจทก์ข้อ ๒ ในหนังสือไม่ตรงกับข้อสอบที่ใช้สอบ
ในหนังสือ โจทก์ว่า "ธรรมที่คอยกำกับให้รู้ตัวขณะทำ พูด คิด ได้แก่ข้อใด"
ซึ่งน่าจะ copy ข้อมูลมาผิด (หนังสือหน้า ๑๙๘ ข้อ ๒)
ส่วนที่แสดงในหน้าเว็บนี้ พิมพ์จากเอกสารข้อสอบจริงในวันสอบ
ข้อสอบสนามหลวง
พ.ศ. ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๑
พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๖๕
พ.ศ. ๒๕๖๖
พ.ศ. ๒๕๖๗
พ.ศ. ๒๕๖๘
พ.ศ. ๒๕๖๙
พ.ศ. ๒๕๗๐
พ.ศ. ๒๕๗๑
พ.ศ. ๒๕๗๒
พ.ศ. ๒๕๗๓
พ.ศ. ๒๕๗๔
พ.ศ. ๒๕๗๕
พ.ศ. ๒๕๗๖
พ.ศ. ๒๕๗๗
พ.ศ. ๒๕๗๘
พ.ศ. ๒๕๗๙
พ.ศ. ๒๕๘๐
พ.ศ. ๒๕๘๑
พ.ศ. ๒๕๘๒
พ.ศ. ๒๕๘๓
พ.ศ. ๒๕๘๔
พ.ศ. ๒๕๘๕
พ.ศ. ๒๕๘๖
พ.ศ. ๒๕๘๗
พ.ศ. ๒๕๘๘
พ.ศ. ๒๕๘๙
พ.ศ. ๒๕๙๐
พ.ศ. ๒๕๙๑
พ.ศ. ๒๕๙๒
พ.ศ. ๒๕๙๓
พ.ศ. ๒๕๙๔
พ.ศ. ๒๕๙๕
พ.ศ. ๒๕๙๖
พ.ศ. ๒๕๙๗
พ.ศ. ๒๕๙๘
พ.ศ. ๒๕๙๙
พ.ศ. ๒๖๐๐