๑. |
ธรรมข้อใด ทำให้เป็นคนไม่ประมาท ? |
|
ก. |
สติ สัมปชัญญะ |
ข. |
หิริ โอตตัปปะ |
|
ค. |
ขันติ โสรัจจะ |
ง. |
ฉันทะ วิริยะ |
|
|
|
|
|
๒. |
ธรรมที่คอยกำกับให้รู้ตัวขณะทำพูด คิด ได้แก่ข้อใด ? |
|
ก. |
สติ |
ข. |
สัมปชัญญะ |
|
ค. |
ขันติ |
ง. |
โสรัจจะ |
|
|
|
|
|
๓. |
ความระลึกได้ก่อนทำพูด คิด เป็นลักษณะของธรรมข้อใด ? |
|
ก. |
สติ |
ข. |
สัมปชัญญะ |
|
ค. |
ขันติ |
ง. |
โสรัจจะ |
|
|
|
|
|
๔. |
ข้อใด จัดเป็นความละอายใจ ? |
|
ก. |
รังเกียจทุจริต |
ข. |
รังเกียจเชื้อชาติ |
|
ค. |
รังเกียจสีผิว |
ง. |
รังเกียจตระกูล |
|
|
|
|
|
๕. |
ข้อใด มีความหมายตรงกับโอตตัปปะ ? |
|
ก. |
กลัวผลบาป |
ข. |
กลัวเสียชื่อเสียง |
|
ค. |
กลัวโจร |
ง. |
กลัวถูกจับ |
|
|
|
|
|
๖. |
ขันติ คือความอดทน หมายถึงทนต่ออะไร ? |
|
ก. |
ทนดื่มเหล้า |
ข. |
ทนเล่นการพนัน |
|
ค. |
ทนเล่นเกมส์ |
ง. |
ทนเจ็บป่วย |
|
|
|
|
|
๗. |
ธรรมข้อใด ทำคนให้งามโดยไม่ต้องเสริมแต่ง ? |
|
ก. |
หิริ โอตตัปปะ |
ข. |
ขันติ โสรัจจะ |
|
ค. |
สติ สัมปชัญญะ |
ง. |
เมตตา กรุณา |
|
|
|
|
|
๘. |
บิดามารดาถูกทอดทิ้ง เพราะบุตรขาดธรรมข้อใด ? |
|
ก. |
เมตตา กรุณา |
ข. |
จาคะ ความเสียสละ |
|
ค. |
กตัญญู กตเวที |
ง. |
หิริ โอตตัปปะ |
|
|
|
|
|
๙. |
จะรู้ได้อย่างไรว่า คนที่เราคบด้วยเป็นคนดี ? |
|
ก. |
ตักบาตรประจำ |
ข. |
มีมนุษย์สัมพันธ์ |
|
ค. |
รู้จักทดแทนคุณ |
ง. |
ขยันทำการงาน |
|
|
|
|
|
๑๐. |
กตัญญูกตเวทีบุคคล ชื่อว่าหาได้ยาก เพราะถูกอะไรครอบงำ? |
|
ก. |
อบายมุข |
ข. |
นิวรณ์ |
|
ค. |
ความโกรธ |
ง. |
ความตระหนี่ |
|
|
|
|
|
๑๑. |
รตนะในพระพุทธศาสนา ได้แก่ข้อใด ? |
|
ก. |
ศีล สมาธิ ปัญญา |
ข. |
ทาน ศีล ภาวนา |
|
ค. |
พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ |
ง. |
อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา |
|
|
|
|
|
๑๒. |
พระธรรม คืออะไร ? |
|
ก. |
หนังสือธรรมะ |
ข. |
คำสุภาษิต |
|
ค. |
คัมภีร์เทศน์ |
ง. |
คำสั่งสอน |
|
|
|
|
|
๑๓. |
พระธรรมมีคุณอย่างไร ? |
|
ก. |
แนะนำดี |
ข. |
ชี้ทางสวรรค์ |
|
ค. |
ป้องกันอบาย |
ง. |
ให้หายยากจน |
|
|
|
|
|
๑๔. |
พระสงฆ์มีคุณอย่างไร ? |
|
ก. |
สอนให้ร่ำรวย |
ข. |
สอนให้ทำความดี |
|
ค. |
สอนให้มีความสุข |
ง. |
สอนไม่ให้ตกนรก |
|
|
|
|
|
๑๕. |
พระบริสุทธิคุณ เป็นคุณของข้อใด ? |
|
ก. |
พระพุทธ |
ข. |
พระธรรม |
|
ค. |
พระสงฆ์ |
ง. |
พระอรหันต์ |
|
|
|
|
|
๑๖. |
โอวาทของพระพุทธเจ้า ๓ อย่าง ตรงกับข้อใด ? |
|
ก. |
ทาน ศีล ภาวนา |
ข. |
ศีล สมาธิ ปัญญา |
|
ค. |
อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา |
ง. |
ละชั่ว ทำดี ทำใจให้ผ่องใส |
|
|
|
|
|
๑๗. |
ทำอย่างไร ถึงจะไม่ตกไปในที่ชั่ว ? |
|
ก. |
ปฏิบัติตามกฎหมาย |
ข. |
ปฏิบัติตามครูสอน |
|
ค. |
ปฏิบัติตามธรรม |
ง. |
ปฏิบัติตามบิดามารดา |
|
|
|
|
|
๑๘. |
ข้อใด เป็นผลของการพูดคำหยาบ ? |
|
ก. |
แตกความสามัคคี |
ข. |
ทำให้เจ็บใจ |
|
ค. |
ขาดคนรักใคร่ |
ง. |
ขาดคนเชื่อถือ |
|
|
|
|
|
๑๙. |
คนต้มตุ๋นหลอกลวง ชื่อว่าประพฤติวจีทุจริตข้อใด ? |
|
ก. |
พูดเท็จ |
ข. |
พูดคำหยาบ |
|
ค. |
พูดส่อเสียด |
ง. |
พูดเพ้อเจ้อ |
|
|
|
|
|
๒๐. |
วจีสุจริตข้อใด ส่งเสริมให้เกิดความปรองดอง ? |
|
ก. |
ไม่พูดเท็จ |
ข. |
ไม่พูดคำหยาบ |
|
ค. |
ไม่พูดส่อเสียด |
ง. |
ไม่พูดเพ้อเจ้อ |
|
|
|
|
|
๒๑. |
ถึงบางพูดพูดดีเป็นศรีศักดิ์ มีคนรักรสถ้อยอร่อยจิต ตรงกับ วจีสุจริตข้อใด ? |
|
ก. |
ไม่พูดเท็จ |
ข. |
ไม่พูดคำหยาบ |
|
ค. |
ไม่พูดส่อเสียด |
ง. |
ไม่พูดเพ้อเจ้อ |
|
|
|
|
|
๒๒. |
ผู้ไม่คิดร้ายทำลายคนอื่นให้เดือดร้อน ชื่อว่าประพฤติสุจริตข้อใด ? |
|
ก. |
กายสุจริต |
ข. |
วจีสุจริต |
|
ค. |
มโนสุจริต |
ง. |
ถูกทุกข้อ |
|
|
|
|
|
๒๓. |
มูลเหตุแห่งความผิดของคน คืออะไร ? |
|
ก. |
โลภะ โทสะ โมหะ |
ข. |
ราคะ โทสะ โมหะ |
|
ค. |
มานะ โทสะ โมหะ |
ง. |
ตัณหา ราคะ ทิฏฐิ |
|
|
|
|
|
๒๔. |
ฉ้อราษฎร์บังหลวง มีอะไรเป็นมูลเหตุ ? |
|
ก. |
โลภะ |
ข. |
โทสะ |
|
ค. |
โมหะ |
ง. |
โกธะ |
|
|
|
|
|
๒๕. |
ข้อใด ไม่ใช่ลักษณะของโทสะ ? |
|
ก. |
กลุ้มใจ เสียใจ |
ข. |
โกรธ เกลียด |
|
ค. |
รำคาญ หงุดหงิด |
ง. |
อยากได้ งมงาย |
|
|
|
|
|
๒๖. |
มีโทษมากและคลายช้า คือกิเลสข้อใด ? |
|
ก. |
โลภะ |
ข. |
โทสะ |
|
ค. |
โมหะ |
ง. |
ราคะ |
|
|
|
|
|
๒๗. |
อะไร เป็นสมุฏฐานให้คนประพฤติดี ? |
|
ก. |
ทาน |
ข. |
ศีล |
|
ค. |
กุศลมูล |
ง. |
สุจริต |
|
|
|
|
|
๒๘. |
อโทสะ ตรงกับข้อใด ? |
|
ก. |
รู้เขา รู้เรา รบชนะ |
ข. |
รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย |
|
ค. |
ช้าเสียกาล นานเสียกิจ |
ง. |
ปัญญาประดุจดังอาวุธ |
|
|
|
|
|
๒๙. |
ข้อใด ไม่ใช่ลักษณะของความหลงงมงาย ? |
|
ก. |
เชื่อมั่นตัวเอง |
ข. |
เชื่อผู้รู้อยู่ใกล้ตัว |
|
ค. |
เชื่อเหตุผล |
ง. |
เชื่อเรื่องเปลี่ยนชื่อ |
|
|
|
|
|
๓๐. |
คนเช่นไร ชื่อว่าสัตบุรุษ ? |
|
ก. |
รู้จักทำมาหากิน |
ข. |
มีน้ำใจแบ่งปัน |
|
ค. |
ขยันไม่เกียจคร้าน |
ง. |
ทำดี พูดดี คิดดี |
|
|
|
|
|
๓๑. |
ทาน ศีล ภาวนา เป็นที่ตั้งแห่งการบำเพ็ญบุญ อะไรจัดเป็นบุญ ? |
|
ก. |
ความสุขกาย สุขใจ |
ข. |
การได้ไปสวรรค์ |
|
ค. |
ความร่ำรวย |
ง. |
ความมีเกียรติ |
|
|
|
|
|
๓๒. |
โยนิโสมนสิการในวุฑฒิธรรม หมายถึงอะไร ? |
|
ก. |
รอบรู้ทุกเรื่อง |
ข. |
ตริตรองให้รู้สิ่งดีชั่ว |
|
ค. |
เชื่อในสิ่งที่ควรเชื่อ |
ง. |
ศึกษามากรู้ปัญหามาก |
|
|
|
|
|
๓๓. |
ผู้ไม่มีเวรภัยแก่ใคร เพราะทำบุญอะไร ? |
|
ก. |
ให้ทาน |
ข. |
รักษาศีล |
|
ค. |
เจริญภาวนา |
ง. |
วางอุเบกขา |
|
|
|
|
|
๓๔. |
ได้ดีเพราะบุญหนุนส่ง ตรงกับจักรธรรมข้อใด ? |
|
ก. |
ปุพเพกตปุญญตา |
ข. |
อัตตสัมมาปณิธิ |
|
ค. |
สัปปุริสูปัสสยะ |
ง. |
ปฏิรูปเทสวาสะ |
|
|
|
|
|
๓๕. |
ท่านเปรียบธรรมข้อใด ดุจล้อรถที่นำไปสู่ความเจริญ ? |
|
ก. |
วุฑฒิ ๔ |
ข. |
จักร ๔ |
|
ค. |
อิทธิบาท ๔ |
ง. |
ปธาน ๔ |
|
|
|
|
|
๓๖. |
เมื่ออคติเกิดขึ้น สิ่งที่ถูกทำลายคืออะไร ? |
|
ก. |
ความยุติธรรม |
ข. |
ความมั่งคั่ง |
|
ค. |
ความรัก |
ง. |
ความนับถือ |
|
|
|
|
|
๓๗. |
เมตตา มีความหมายตรงกับข้อใด ? |
|
ก. |
พลอยยินดี |
ข. |
คิดช่วยให้พ้นทุกข์ |
|
ค. |
ไม่ยินดียินร้าย |
ง. |
ปรารถนาให้เป็นสุข |
|
|
|
|
|
๓๘. |
พ่อแม่ตามใจลูกจนเสียคน เพราะมีอคติข้อใด ? |
|
ก. |
ฉันทาคติ |
ข. |
โทสาคติ |
|
ค. |
โมหาคติ |
ง. |
ภยาคติ |
|
|
|
|
|
๓๙. |
อธิษฐานธรรม หมายถึงธรรมเช่นไร ? |
|
ก. |
ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ |
ข. |
ธรรมที่ให้สำเร็จตามประสงค์ |
|
ค. |
ธรรมที่ปฏิบัติแล้วไม่ผิด |
ง. |
ธรรมที่ทำให้เจริญ |
|
|
|
|
|
๔๐. |
รู้เหตุรู้ผล ตรงกับอธิษฐานธรรมข้อใด ? |
|
ก. |
ปัญญา |
ข. |
สัจจะ |
|
ค. |
จาคะ |
ง. |
อุปสมะ |
|
|
|
|
|
๔๑. |
ข้อใดตรงกับสังวรปธาน ? |
|
ก. |
เพียรระวังมิให้บาปเกิดขึ้น |
ข. |
เพียรละบาปที่เกิดขึ้นแล้ว |
|
ค. |
เพียรให้กุศลเกิด |
ง. |
เพียรรักษากุศลมิให้เสื่อม |
|
|
|
|
|
๔๒. |
คนบรรลุความสำเร็จทุกอย่าง เพราะมีธรรมข้อใด ? |
|
ก. |
วุฑฒิ ๔ |
ข. |
จักร ๔ |
|
ค. |
อธิษฐานธรรม ๔ |
ง. |
อิทธิบาท ๔ |
|
|
|
|
|
๔๓. |
เห็นคนทำความผิด อยากช่วย แต่ช่วยไม่ได้ ควรใช้ธรรมข้อใด ? |
|
ก. |
เมตตา |
ข. |
กรุณา |
|
ค. |
มุทิตา |
ง. |
อุเบกขา |
|
|
|
|
|
๔๔. |
การแสดงความยินดี เมื่อผู้อื่นได้ดี ตรงกับข้อใด ? |
|
ก. |
เมตตา |
ข. |
กรุณา |
|
ค. |
มุทิตา |
ง. |
อุเบกขา |
|
|
|
|
|
๔๕. |
ในการพิจารณาคดีความ ควรยึดธรรมข้อใดเป็นหลัก ? |
|
ก. |
เมตตา |
ข. |
กรุณา |
|
ค. |
มุทิตา |
ง. |
อุเบกขา |
|
|
|
|
|
๔๖. |
อนันตริยกรรม ๕ ให้ผลอย่างไร ? |
|
ก. |
เกิดเป็นเปรต |
ข. |
ตกนรกอเวจี |
|
ค. |
เกิดเป็นอสุรกาย |
ง. |
เกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน |
|
|
|
|
|
๔๗. |
การพิจารณาความแก่เนืองๆ มีประโยชน์อย่างไร ? |
|
ก. |
บรรเทาความเมาในวัย |
ข. |
บรรเทาความเมาในชีวิต |
|
ค. |
บรรเทาความยึดมั่น |
ง. |
บรรเทาความเห็นแก่ตัว |
|
|
|
|
|
๔๘. |
คบคนพาล พาลพาไปหาผิด เพราะขาดสัปปุริสธรรมข้อใด ? |
|
ก. |
มัตตัญญุตา |
ข. |
กาลัญญุตา |
|
ค. |
ปริสัญญุตา |
ง. |
ปุคคลปโรปรัญญุตา |
|
|
|
|
|
๔๙. |
ทิศเบื้องหน้า ได้แก่ใคร ? |
|
ก. |
สมณะ |
ข. |
อาจารย์ |
|
ค. |
มิตร |
ง. |
มารดาบิดา |
|
|
|
|
|
๕๐. |
จิตอาสา จัดเข้าในสังคหวัตถุข้อใด ? |
|
ก. |
ทาน |
ข. |
ปิยวาจา |
|
ค. |
อัตถจริยา |
ง. |
สมานัตตตา |
|
|
|
|
|
 |
|
|
|
เอกสารอ้างอิง |
|
|
|
เรื่องสอบธรรม ของสนามหลวงแผนกธรรม พ.ศ.๒๕๕๔. หน้า ๒๐๖-๒๑๖. |
|
|
|
|
|