ปัญหาและเฉลย
วิชาธรรม ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันจันทร์ ที่ ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๙
เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๓.๕๐ น.
คำสั่ง :
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว ระบายในกระดาษใบตอบ
ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑.
บุคคลทำอะไรมักผิดพลาด เพราะขาดคุณธรรมข้อใด ?
ก.
หิริ - โอตตัปปะ
ข.
สติปัฏฐาน
ค.
สติ - สัมปชัญญะ
ง.
อริยสัจ
๒.
ข้อใด เป็นผลของสติและสัมปชัญญะ ?
ก.
ทำให้ฉลาด
ข.
ทำให้รอบคอบ
ค.
ทำให้ขยัน
ง.
ทำให้กตัญญู
๓.
ละอายต่อบาปทุจริต ไม่ทำผิดศีลธรรมต่าง ๆ เพราะมีคุณธรรมใด ?
ก.
สติ
ข.
สัมปชัญญะ
ค.
หิริ
ง.
โอตตัปปะ
๔.
อดทนต่อความลำบากตรากตรำ ตรงกับคุณธรรมใด ?
ก.
สติ
ข.
หิริ
ค.
ขันติ
ง.
โสรัจจะ
๕.
ข้อใด เป็นเหตุให้เกิดขันติโสรัจจะ ?
ก.
มองโลกในแง่ดี
ข.
เข้มแข็งอดทน
ค.
มีจิตเมตตา
ง.
ถูกทุกข้อ
๖.
ข้อใด เป็นความหมายของบุพพการีชน ?
ก.
ทำอุปการะก่อน
ข.
รู้อุปการคุณ
ค.
ทดแทนคุณ
ง.
สนองคุณ
๗.
ชาวพุทธมีอะไร เป็นที่พึ่งที่ระลึก ?
ก.
พระรัตนตรัย
ข.
พระอิศวร
ค.
พระพรหม
ง.
พระพิฆเนศ
๘.
พระบริสุทธิคุณ เป็นคุณของข้อใด ?
ก.
พระพุทธเจ้า
ข.
พระธรรม
ค.
พระสงฆ์
ง.
ถูกทุกข้อ
๙.
โอวาทของพระพุทธเจ้า ตรงกับข้อใด ?
ก.
ละชั่ว
ข.
ทำดี
ค.
ทำใจให้ผ่องใส
ง.
ถูกทุกข้อ
๑๐.
ประโยชน์สูงสุดของการปฏิบัติตามพุทธโอวาท คืออะไร ?
ก.
ศีล
ข.
สมาธิ
ค.
สวรรค์
ง.
พระนิพพาน
๑๑.
การฉ้อโกง รับสินบน จัดเป็นทุจริตประเภทใด ?
ก.
กายทุจริต
ข.
วจีทุจริต
ค.
มโนทุจริต
ง.
ถูกทุกข้อ
๑๒.
วจีสุจริตข้อใด ส่งเสริมให้เกิดความปรองดองสมานฉันท์ ?
ก.
ไม่พูดเท็จ
ข.
ไม่พูดคำหยาบ
ค.
ไม่พูดส่อเสียด
ง.
ไม่พูดเพ้อเจ้อ
๑๓.
ข้อใด เป็นลักษณะของคนประพฤติมโนสุจริต ?
ก.
ไม่ฆ่าสัตว์
ข.
ไม่ลักขโมย
ค.
ไม่โกหก
ง.
ไม่พยาบาทปองร้าย
๑๔.
การทำร้ายคนอื่น เกิดจากอกุศลมูลใด ?
ก.
โลภะ
ข.
โทสะ
ค.
โมหะ
ง.
ถูกทุกข้อ
๑๕.
ข้อใด จัดเป็นโลภะ ?
ก.
อยากทำบุญ
ข.
อยากฟังธรรม
ค.
อยากทุจริต
ง.
อยากปรองดอง
๑๖.
อกุศลมูลใด เป็นเหตุของการทุจริตคอรัปชั่น ?
ก.
โลภะ
ข.
โทสะ
ค.
โมหะ
ง.
ถูกทุกข้อ
๑๗.
บุญกิริยาวัตถุ หมายถึงอะไร ?
ก.
การบวงสรวง
ข.
การทำบุญ
ค.
การชำระบาป
ง.
การบูชาไฟ
๑๘.
สัตบุรุษ คือคนเช่นไร ?
ก.
คนทำดี
ข.
คนพูดดี
ค.
คนคิดดี
ง.
ถูกทุกข้อ
๑๙.
ตำรวจเห็นคนทำผิดไม่จับกุม เพราะกลัวอิทธิพล จัดว่ามีอคติใด ?
ก.
ฉันทาคติ
ข.
โทสาคติ
ค.
โมหาคติ
ง.
ภยาคติ
๒๐.
พยายามรักษาความดีไม่ให้เสื่อมถอย ตรงกับข้อใด ?
ก.
สังวรปธาน
ข.
ปหานปธาน
ค.
ภาวนาปธาน
ง.
อนุรักขนาปธาน
๒๑.
ใช้ปัญญารักษาสัจจะ เพิ่มพูนจาคะ ศึกษาสันติ ตรงกับธรรมหมวดใด ?
ก.
อธิษฐานธรรม
ข.
อิทธิบาท
ค.
พรหมวิหาร
ง.
ปธาน
๒๒.
เพียรพยายามเรื่อยไป จนกว่าจะประสบความสำเร็จ ตรงกับข้อใด ?
ก.
ฉันทะ
ข.
วิริยะ
ค.
จิตตะ
ง.
วิมังสา
๒๓.
เมื่อเห็นคนอื่นได้ดี ควรเจริญพรหมวิหารข้อใด ?
ก.
เมตตา
ข.
กรุณา
ค.
มุทิตา
ง.
อุเบกขา
๒๔.
ทุกข์ทั้งหลายที่เกิดขึ้น จัดเป็นอริยสัจใด ?
ก.
ทุกข์
ข.
สมุทัย
ค.
นิโรธ
ง.
มรรค
๒๕.
กรรมใด ห้ามสวรรค์ ห้ามนิพพาน ?
ก.
อกุศลกรรม
ข.
อนันตริยกรรม
ค.
อาสันนกรรม
ง.
อโหสิกรรม
๒๖.
ไม่งมงายเชื่อง่าย ไม่หลงเชื่อการดลบันดาล เป็นเวสารัชชกรณธรรมใด ?
ก.
สัทธา
ข.
ศีล
ค.
พาหุสัจจะ
ง.
โอตตัปปะ
๒๗.
ทำความเห็นให้ถูกต้อง เป็นอานิสงส์ของผู้ประพฤติอะไร ?
ก.
ให้ทาน
ข.
รักษาศีล
ค.
สมาธิ
ง.
ฟังธรรม
๒๘.
พลธรรมข้อใด ทำให้รู้แจ้งเห็นจริงในสิ่งทั้งปวง ?
ก.
วิริยะ
ข.
สติ
ค.
สมาธิ
ง.
ปัญญา
๒๙.
ในขันธ์ ๕ อะไรจัดเป็นรูปธรรม ?
ก.
รูป
ข.
เวทนา
ค.
สังขาร
ง.
วิญญาณ
๓๐.
ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งการระลึกถึงกัน ตรงกับข้อใด ?
ก.
สัปปุริสธรรม
ข.
พลธรรม
ค.
สาราณิยธรรม
ง.
คารวธรรม
๓๑.
ข้อใด จัดเป็นทิฏฐิสามัญญตา ?
ก.
เห็นตรงกัน
ข.
มีศีลเสมอกัน
ค.
คิดดีต่อกัน
ง.
พูดดีต่อกัน
๓๒.
รู้ว่าสิ่งใดควรทำก่อน สิ่งใดควรทำทีหลัง จัดเป็นสัปปุริสธรรมข้อใด ?
ก.
ธัมมัญญุตา
ข.
อัตถัญญุตา
ค.
มัตตัญญุตา
ง.
กาลัญญุตา
๓๓.
ไม่ปรับปรุงตัวให้ดีขึ้น ถือว่าขาดสัปปุริสธรรมข้อใด ?
ก.
ธัมมัญญุตา
ข.
อัตถัญญุตา
ค.
อัตตัญญุตา
ง.
ปริสัญญุตา
๓๔.
โลกธรรมใด จัดเป็นอิฏฐารมณ์ ?
ก.
นินทา
ข.
ทุกข์
ค.
มีลาภ
ง.
เสื่อมลาภ
๓๕.
เห็นอย่างไร ชื่อว่าเห็นชอบ ?
ก.
เห็นตามเพื่อน
ข.
เห็นตามสังคม
ค.
เห็นตามตำรา
ง.
เห็นด้วยปัญญา
๓๖.
การกระทำที่เป็นเหตุให้ผู้ทำเศร้าหมอง เรียกว่าอะไร ?
ก.
กิเลสกาม
ข.
กรรมกิเลส
ค.
กรรมวัฏฏ์
ง.
กรรมบถ
๓๗.
ข้อใด ไม่นับเข้าในกรรมกิเลส ?
ก.
ฆ่าสัตว์
ข.
ลักทรัพย์
ค.
พูดเท็จ
ง.
ดื่มสุรา
๓๘.
ผู้ต้องการงดเว้นจากปาณาติบาต ควรประพฤติควบคู่กับธรรมใด ?
ก.
เมตตา
ข.
สัมมาชีพ
ค.
กามสังวร
ง.
สัจจะ
๓๙.
ผู้ต้องการงดเว้นจากอทินนาทาน ควรประพฤติควบคู่กับธรรมใด ?
ก.
เมตตา
ข.
สัมมาชีพ
ค.
กามสังวร
ง.
สัจจะ
๔๐.
ผู้ต้องการงดเว้นจากกาเมสุมิจฉาจาร ควรประพฤติควบคู่กับธรรมใด ?
ก.
เมตตา
ข.
สัมมาชีพ
ค.
กามสังวร
ง.
สัจจะ
๔๑.
ผู้ต้องการงดเว้นจากมุสาวาท ควรประพฤติควบคู่กับธรรมใด ?
ก.
เมตตา
ข.
สัมมาชีพ
ค.
กามสังวร
ง.
สัจจะ
๔๒.
ธรรมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจให้สามัคคี เรียกว่าอะไร ?
ก.
สังคหวัตถุ
ข.
ฆราวาสธรรม
ค.
อิทธิบาท
ง.
พรหมวิหาร
๔๓.
การทำประโยชน์ส่วนรวม ตรงกับสังคหวัตถุข้อใด ?
ก.
ทาน
ข.
ปิยวาจา
ค.
อัตถจริยา
ง.
สมานัตตตา
๔๔.
คิดเอาแต่ได้ฝ่ายเดียว เป็นลักษณะของมิตรประเภทใด ?
ก.
ปอกลอก
ข.
ดีแต่พูด
ค.
หัวประจบ
ง.
ชักชวนในทางฉิบหาย
๔๕.
ปากปราศรัย น้ำใจเชือดคอ จัดอยู่ในมิตรประเภทใด ?
ก.
ปอกลอก
ข.
ดีแต่พูด
ค.
หัวประจบ
ง.
ชักชวนในทางฉิบหาย
๔๖.
การค้าขายชนิดใด เป็นข้อห้ามของอุบาสกอุบาสิกา ?
ก.
ขายเสื้อผ้า
ข.
ขายน้ำเมา
ค.
ขายอาหาร
ง.
ขายเครื่องสำอาง
๔๗.
ข้อใด เป็นสมบัติของอุบาสก ?
ก.
ศรัทธา
ข.
ทรัพย์
ค.
ยศ
ง.
ตำแหน่ง
๔๘.
ธรรมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจให้สามัคคี เรียกว่าอะไร ?
ก.
สังคหวัตถุ
ข.
ฆราวาสธรรม
ค.
อิทธิบาท
ง.
พรหมวิหาร
๔๙.
แนะนำดี เป็นหน้าที่ของใคร ?
ก.
มารดาบิดา
ข.
ครูอาจารย์
ค.
สมณพราหมณ์
ง.
ถูกทุกข้อ
๕๐.
จริงใจ ฝึกฝน อดทน ให้ปัน ตรงกับธรรมหมวดใด ?
ก.
สังคหวัตถุ
ข.
ฆราวาสธรรม
ค.
อธิษฐานธรรม
ง.
พรหมวิหาร
เอกสารอ้างอิง
ปัญหาและเฉลยข้อสอบ นักธรรมชั้นโท-เอก และธรรมศึกษาตรี-โท-เอก พ.ศ.๒๕๕๙. หน้า ๓๘-๔๗.
ข้อสอบสนามหลวง
พ.ศ. ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๑
พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๖๕
พ.ศ. ๒๕๖๖
พ.ศ. ๒๕๖๗
พ.ศ. ๒๕๖๘
พ.ศ. ๒๕๖๙
พ.ศ. ๒๕๗๐
พ.ศ. ๒๕๗๑
พ.ศ. ๒๕๗๒
พ.ศ. ๒๕๗๓
พ.ศ. ๒๕๗๔
พ.ศ. ๒๕๗๕
พ.ศ. ๒๕๗๖
พ.ศ. ๒๕๗๗
พ.ศ. ๒๕๗๘
พ.ศ. ๒๕๗๙
พ.ศ. ๒๕๘๐
พ.ศ. ๒๕๘๑
พ.ศ. ๒๕๘๒
พ.ศ. ๒๕๘๓
พ.ศ. ๒๕๘๔
พ.ศ. ๒๕๘๕
พ.ศ. ๒๕๘๖
พ.ศ. ๒๕๘๗
พ.ศ. ๒๕๘๘
พ.ศ. ๒๕๘๙
พ.ศ. ๒๕๙๐
พ.ศ. ๒๕๙๑
พ.ศ. ๒๕๙๒
พ.ศ. ๒๕๙๓
พ.ศ. ๒๕๙๔
พ.ศ. ๒๕๙๕
พ.ศ. ๒๕๙๖
พ.ศ. ๒๕๙๗
พ.ศ. ๒๕๙๘
พ.ศ. ๒๕๙๙
พ.ศ. ๒๖๐๐