ปัญหาและเฉลย
วิชาธรรม ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันพุธ ที่ ๑๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๗
เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๓.๕๐ น.
คำสั่ง :
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วฝนลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑.
ข้อใด เป็นความหมายของสติ ?
ก.
ความระลึกได้
ข.
ความรู้ตัว
ค.
ความรอบรู้
ง.
ความจำได้
๒.
คนขาดสติสัมปชัญญะมีลักษณะเช่นไร ?
ก.
โง่เขลา
ข.
ประมาท
ค.
ขาดความละอาย
ง.
ไร้ความรับผิดชอบ
๓.
สติสัมปชัญญะชื่อว่ามีอุปการะมาก เพราะเหตุใด ?
ก.
ให้มีความสุข
ข.
ให้ร่ำรวย
ค.
ให้ทำงานไม่ผิดพลาด
ง.
ให้เจริญ
๔.
หิริโอตตัปปะ จัดเป็นธรรมอะไร ?
ก.
มีอุปการะมาก
ข.
คุ้มครองโลก
ค.
ธรรมอันทำให้งาม
ง.
ธรรมของโลก
๕.
คนมีโอตตัปปะ มีลักษณะเช่นใด ?
ก.
รังเกียจคนชั่ว
ข.
ละอายบาป
ค.
เกรงกลัวบาป
ง.
เกรงกลัวคนชั่ว
๖.
หิริโอตตัปปะช่วยป้องกันสังคมด้านใด ?
ก.
การทุจริต
ข.
ความเกียจคร้าน
ค.
ภัยพิบัติ
ง.
ความยากจน
๗.
ธรรมอันทำให้งาม ตรงกับข้อใด ?
ก.
สติสัมปชัญญะ
ข.
หิริโอตตัปปะ
ค.
ขันติโสรัจจะ
ง.
กตัญญูกตเวที
๘.
ข้อใด เป็นลักษณะของคนมีโสรัจจะ ?
ก.
อ่อนน้อมถ่อมตน
ข.
เก็บอารมณ์ได้ดี
ค.
ทนลำบาก
ง.
ทนคำด่า
๙.
ข้อใด เป็นความหมายของบุพพการี ?
ก.
ผู้ทำอุปการะก่อน
ข.
ผู้ตอบแทนคุณ
ค.
ผู้รู้บุญคุณ
ง.
ผู้เกิดก่อน
๑๐.
กตัญญูกตเวที หมายถึงใคร ?
ก.
มีอุปการคุณ
ข.
ผู้รู้คุณ
ค.
ตอบแทนคุณ
ง.
รู้คุณและตอบแทน
๑๑.
ผู้รู้ดีรู้ชอบเองแล้วสอนผู้อื่นให้รู้ตาม ตรงกับข้อใด ?
ก.
พระพุทธ
ข.
พระธรรม
ค.
พระสงฆ์
ง.
พระรัตนตรัย
๑๒.
หมู่ชนที่ฟังคำสอนแล้วปฏิบัติตามธรรมวินัย ตรงกับข้อใด ?
ก.
พระพุทธ
ข.
พระธรรม
ค.
พระสงฆ์
ง.
พระปัจเจกพุทธเจ้า
๑๓.
พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เรียกว่าอะไร ?
ก.
ไตรสิกขา
ข.
ไตรรัตน์
ค.
ไตรลักษณ์
ง.
ทาน ศีล ภาวนา
๑๔.
โอวาทปาติโมกข์ ตรงกับข้อใด ?
ก.
สุจริต
ข.
ผลกรรม
ค.
ให้ทาน
ง.
ละชั่ว ทำดี ทำใจให้ผ่องใส
๑๕.
การประพฤติชั่วทางกาย วาจา ใจ เรียกว่าอะไร ?
ก.
ทุจริต
ข.
บาป
ค.
กรรม
ง.
มลทิน
๑๖.
ข้อใด จัดเป็นกายทุจริต ?
ก.
พยาบาทปองร้าย
ข.
ลักทรัพย์
ค.
ยุยงให้แตกกัน
ง.
ให้ร้ายผู้อื่น
๑๗.
ข้อใด จัดเป็นวจีทุจริต ?
ก.
ยุยงให้แตกกัน
ข.
วิ่งราว
ค.
โลภอยากได้ของเขา
ง.
ปองร้ายผู้อื่น
๑๘.
ข้อใด เป็นโทษของการพูดส่อเสียด ?
ก.
ให้เจ็บใจ
ข.
ให้แตกสามัคคี
ค.
ขาดคนเชื่อถือ
ง.
ขาดคนรักใคร่
๑๙.
ข้อใด เป็นโทษของการพูดคำหยาบ ?
ก.
ให้เจ็บใจ
ข.
ให้แตกสามัคคี
ค.
ขาดคนเชื่อถือ
ง.
ขาดคนรักใคร่
๒๐.
ข้อใด ไม่จัดเป็นมโนทุจริต ?
ก.
คิดช่วยผู้อื่น
ข.
คิดอยากได้ของเขา
ค.
เห็นผิด
ง.
พยาบาทปองร้าย
๒๑.
การประพฤติดีทางกาย วาจา ใจ เรียกว่าอะไร ?
ก.
บุญ
ข.
ทาน
ค.
กุศล
ง.
สุจริต
๒๒.
คนจะดีหรือชั่ว เพราะเหตุใด ?
ก.
มีตระกูลสูง
ข.
มีทรัพย์
ค.
ประพฤติสุจริตหรือทุจริต
ง.
บริวารมาก
๒๓.
ความดีในสุจริต ๓ ตรงกับข้อใด ?
ก.
ดีทางกาย
ข.
ดีทางกาย
ค.
ดีทางใจ
ง.
ดีทางกาย วาจา ใจ
๒๔.
ข้อใด จัดเป็นโลภะ ?
ก.
อยากสวย
ข.
อยากรวย
ค.
อยากเก่ง
ง.
อยากโกง
๒๕.
ข้อใด จัดเป็นโทสะ ?
ก.
คิดประทุษร้าย
ข.
คิดอยากได้
ค.
ความโลภ
ง.
ความหลง
๒๖.
คนมีโทสะ ควรแก้ด้วยอะไร ?
ก.
เมตตา
ข.
ซื่อสัตย์
ค.
อ่อนน้อม
ง.
เสียสละ
๒๗.
ข้อใด เป็นมูลเหตุไม่ให้เห็นผิดเป็นถูก ?
ก.
อโลภะ
ข.
อวิหิงสา
ค.
อโมหะ
ง.
อโทสะ
๒๘.
มาตาปิตุอุปัฏฐาน ตรงกับข้อใด ?
ก.
เลี้ยงดูพ่อแม่
ข.
เอาใจพ่อแม่
ค.
รักพ่อแม่
ง.
สงสารพ่อแม่
๒๙.
ประเทศอันสมควร มีลักษณะเช่นใด ?
ก.
มีพื้นที่มาก
ข.
มีประชากรมาก
ค.
มีคนดีมาก
ง.
มีความสวยงาม
๓๐.
จะรักษาความยุติธรรม ต้องเว้นจากอะไร ?
ก.
อบายมุข
ข.
อกุศล
ค.
อคติ
ง.
ทุจริต
๓๑.
ลำเอียงเพราะไม่ชอบกัน ชื่อว่ามีอคติใด ?
ก.
ฉันทาคติ
ข.
โทสาคติ
ค.
โมหาคติ
ง.
ภยาคติ
๓๒.
ลำเอียงเพราะกลัวหรือเกรงใจ ตรงกับข้อใด ?
ก.
ฉันทาคติ
ข.
โทสาคติ
ค.
โมหาคติ
ง.
ภยาคติ
๓๓.
ข้อใด ตรงกับสังวรปธาน ?
ก.
เพียรระวัง
ข.
เพียรละ
ค.
เพียรเจริญ
ง.
เพียรรักษา
๓๔.
หมั่นสร้างความดีให้มีในตน ตรงกับข้อใด ?
ก.
สังวรปธาน
ข.
ปหานปธาน
ค.
ภาวนาปธาน
ง.
อนุรักขนาปธาน
๓๕.
ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ตรงกับข้อใด ?
ก.
อธิษฐาน
ข.
วุฑฒิ
ค.
อิทธิบาท
ง.
พรหมวิหาร
๓๖.
ซื่อสัตย์ ตรงไปตรงมา ตรงกับหลักธรรมใด ?
ก.
ปัญญา
ข.
สัจจะ
ค.
จาคะ
ง.
อุปสมะ
๓๗.
อิทธิบาทข้อใด เป็นพื้นฐานนำไปสู่ความสำเร็จ ?
ก.
ฉันทะ
ข.
วิริยะ
ค.
จิตตะ
ง.
วิมังสา
๓๘.
คนที่ทอดธุระในการทำงาน เพราะขาดอิทธิบาทข้อใด ?
ก.
ฉันทะ
ข.
วิริยะ
ค.
จิตตะ
ง.
วิมังสา
๓๙.
การช่วยเหลือคนประสบภัย ชื่อว่ามีพรหมวิหารข้อใด ?
ก.
เมตตา
ข.
กรุณา
ค.
มุทิตา
ง.
อุเบกขา
๔๐.
การแสดงความยินดีเมื่อผู้อื่นได้ดี ชื่อว่ามีพรหมวิหารข้อใด ?
ก.
เมตตา
ข.
กรุณา
ค.
มุทิตา
ง.
อุเบกขา
๔๑.
ความทะยานอยาก จัดเข้าในข้อใด ?
ก.
ทุกข์
ข.
สมุทัย
ค.
นิโรธ
ง.
มรรค
๔๒.
ข้อใด จัดเป็นอนันตริยกรรม ?
ก.
เผาโรงเรียน
ข.
ตัดเศียรพระ
ค.
ทำร้ายพระสงฆ์
ง.
ทำสงฆ์ให้แตกกัน
๔๓.
พิจารณาว่าเรามีกรรมเป็นของตัว ชื่อว่าบรรเทาอะไร ?
ก.
ความเห็นผิด
ข.
ความเมาในวัย
ค.
ความยึดมั่น
ง.
ความเมาในชีวิต
๔๔.
เมื่อจิตฟุ้งซ่าน ควรเจริญพลธรรมข้อใด ?
ก.
วิริยะ
ข.
สติ
ค.
สมาธิ
ง.
ปัญญา
๔๕.
ปฏิบัติอย่างไร ชื่อว่าเคารพในการศึกษา ?
ก.
เล่นกีฬา
ข.
สัมมนาวิชาการ
ค.
ใส่ใจศึกษา
ง.
ทัศนศึกษา
๔๖.
คบเพื่อนเพราะหวังประโยชน์ จัดเป็นมิตรประเภทใด ?
ก.
ปอกลอก
ข.
ดีแต่พูด
ค.
หัวประจบ
ง.
ชักชวนในทางฉิบหาย
๔๗.
ทุกข์ ๆ ด้วย สุข ๆ ด้วย ตรงกับมิตรประเภทใด ?
ก.
มีอุปการะ
ข.
ร่วมสุขร่วมทุกข์
ค.
แนะประโยชน์
ง.
มีความรักใคร่
๔๘.
ทิศเบื้องหน้า ได้แก่ข้อใด ?
ก.
ครูอาจารย์
ข.
มารดาบิดา
ค.
บุตรภรรยา
ง.
มิตรสหาย
๔๙.
ไม่รู้จักอาย เป็นโทษอบายมุขใด ?
ก.
ดื่มน้ำเมา
ข.
เที่ยวกลางคืน
ค.
เล่นการพนัน
ง.
คบคนชั่ว
๕๐.
เล่นการพนันมีโทษอย่างไร ?
ก.
ถูกใส่ความ
ข.
ถูกติเตียน
ค.
ถูกระแวง
ง.
ถูกหมิ่นประมาท
เอกสารอ้างอิง
เรื่องสอบธรรม ของสนามหลวงแผนกธรรม พ.ศ.๒๕๕๗. หน้า
ข้อสอบจริง สอบวันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๓.๕๐ น.
ข้อสอบสนามหลวง
พ.ศ. ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๑
พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๖๕
พ.ศ. ๒๕๖๖
พ.ศ. ๒๕๖๗
พ.ศ. ๒๕๖๘
พ.ศ. ๒๕๖๙
พ.ศ. ๒๕๗๐
พ.ศ. ๒๕๗๑
พ.ศ. ๒๕๗๒
พ.ศ. ๒๕๗๓
พ.ศ. ๒๕๗๔
พ.ศ. ๒๕๗๕
พ.ศ. ๒๕๗๖
พ.ศ. ๒๕๗๗
พ.ศ. ๒๕๗๘
พ.ศ. ๒๕๗๙
พ.ศ. ๒๕๘๐
พ.ศ. ๒๕๘๑
พ.ศ. ๒๕๘๒
พ.ศ. ๒๕๘๓
พ.ศ. ๒๕๘๔
พ.ศ. ๒๕๘๕
พ.ศ. ๒๕๘๖
พ.ศ. ๒๕๘๗
พ.ศ. ๒๕๘๘
พ.ศ. ๒๕๘๙
พ.ศ. ๒๕๙๐
พ.ศ. ๒๕๙๑
พ.ศ. ๒๕๙๒
พ.ศ. ๒๕๙๓
พ.ศ. ๒๕๙๔
พ.ศ. ๒๕๙๕
พ.ศ. ๒๕๙๖
พ.ศ. ๒๕๙๗
พ.ศ. ๒๕๙๘
พ.ศ. ๒๕๙๙
พ.ศ. ๒๖๐๐