ปัญหาและเฉลย
วิชาธรรม ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันศุกร์ ที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๙
เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๓.๕๐ น.
คำสั่ง :
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑.
ธรรมอะไร ทำให้เป็นคนรอบคอบ ?
ก.
สติ สัมปชัญญะ
ข.
หิริ โอตตัปปะ
ค.
ขันติ โสรัจจะ
ง.
วิจารณญาณ
๒.
ขาดธรรมอะไร แม้มีชีวิตอยู่ก็ชื่อว่าตาย ?
ก.
สติ
ข.
สัมปชัญญะ
ค.
หิริ
ง.
โอตตัปปะ
๓.
คนเช่นไร ไตร่ตรองทุกสิ่งที่ทำ ทุกคำที่พูด ทุกสิ่งที่คิด ?
ก.
คนช่างคิด
ข.
คนเจ้าปัญญา
ค.
คนไม่ประมาท
ง.
คนไม่ทำชั่ว
๔.
คนขาดธรรมอะไร ทำชั่วได้ทุกอย่าง ?
ก.
สติ สัมปชัญญะ
ข.
หิริ โอตตัปปะ
ค.
ขันติ โสรัจจะ
ง.
กตัญญู กตเวที
๕.
“ทำดีมักกลัว ทำชั่วมักกล้า”
เพราะขาดหลักธรรมอะไร ?
ก.
กตัญญู กตเวที
ข.
ขันติ โสรัจจะ
ค.
สติ สัมปชัญญะ
ง.
หิริ โอตตัปปะ
๖.
“
งามนอกดึงดูดตา งามในดึงดูดจิต”
ตรงกับหลักธรรมข้อใด ?
ก.
หิริ โอตตัปปะ
ข.
ขันติ โสรัจจะ
ค.
สติ สัมปชัญญะ
ง.
กตัญญู กตเวที
๗.
อดกลั้นความยากลำบากและอำนาจกิเลสได้ ชื่อว่ามีธรรมข้อใด ?
ก.
หิริ
ข.
โอตตัปปะ
ค.
ขันติ
ง.
โสรัจจะ
๘.
เพราะเหตุไร มารดาบิดา จึงจัดเป็นบุคคลที่หาได้ยากในโลก ?
ก.
เพราะไม่เห็นแก่ตัว
ข.
เพราะให้มากกว่ารับ
ค.
เพราะไม่หวังตอบแทน
ง.
ถูกทุกข้อ
๙.
คนเรามักลืมบุญคุณคนง่ายๆ พระพุทธศาสนาจึงสอนเรื่องใดไว้ ?
ก.
ความกตัญญู
ข.
ความมีเมตตา
ค.
ความซื่อสัตย์
ง.
ความเสียสละ
๑๐.
“หาความดีใส่หัวลูก ดีกว่าหาเงินใส่กระเป๋าลูก”
สอนอะไร ?
ก.
รักลูกเหนือสิ่งใด
ข.
รักลูกให้ถูกทาง
ค.
รักลูกอย่าตามใจ
ง.
รักวัวให้ผูกรักลูกให้ตี
๑๑.
พระแก้วมรกตที่พึ่งทางใจของคนไทย ตรงกับพระรัตนตรัยใด ?
ก.
พระพุทธเจ้า
ข.
พระธรรม
ค.
พระสงฆ์
ง.
ถูกทุกข้อ
๑๒.
“นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส”
นอบน้อมใคร ?
ก.
พระพุทธเจ้า
ข.
พระธรรม
ค.
พระสงฆ์
ง.
ถูกทุกข้อ
๑๓.
หน้าที่หลักของพระสงฆ์ คืออะไร ?
ก.
เรียน ปฏิบัติ ธุดงค์
ข.
เรียน ปฏิบัติ สอน
ค.
เรียน สอน สวดมนต์
ง.
ปฏิบัติ สอน ทำพิธี
๑๔.
ผู้ใด ชื่อว่าปฏิบัติตามโอวาทของพระพุทธเจ้า ๓ ข้อ ?
ก.
คนมีสติ
ข.
คนมีปัญญา
ค.
คนมีความรู้
ง.
คนมีความคิด
๑๕.
โอวาทของพระพุทธเจ้าข้อว่า “
ไม่ทำความชั่ว
” ตรงกับข้อใด ?
ก.
ศีล
ข.
สมาธิ
ค.
ปัญญา
ง.
ไตรสิกขา
๑๖.
ทำอย่างไร ถึงจะไม่ตกไปในที่ชั่ว ?
ก.
ปฏิบัติตามกฎหมาย
ข.
ปฏิบัติตามครูสอน
ค.
ปฏิบัติตามใจตน
ง.
ปฏิบัติตามธรรม
๑๗.
ข้อใด จัดเป็นกายทุจริต ?
ก.
สั่งให้ฆ่า
ข.
สั่งให้ซื้อเสียง
ค.
สั่งให้สอบประวัติ
ง.
สั่งให้สร้างสถานการณ์
๑๘.
การพูดสร้างสถานการณ์ ให้คนเข้าใจผิด จัดเป็นทุจริตอะไร ?
ก.
กายทุจริต
ข.
วจีทุจริต
ค.
มโนทุจริต
ง.
ถูกทุกข้อ
๑๙.
สำนวนว่า
“ยุแยงตะแคงรั่ว”
ตรงกับข้อใด ?
ก.
พูดเท็จ
ข.
พูดคำหยาบ
ค.
พูดส่อเสียด
ง.
พูดเพ้อเจ้อ
๒๐.
คนประเภทใด ทำสังคมให้เกิดความแตกแยก ?
ก.
คนพูดให้ทะเลาะกัน
ข.
คนปั้นน้ำเป็นตัว
ค.
คนพูดกลับไปกลับมา
ง.
คนไม่มีวาจาสัตย์
๒๑.
ทำอย่างไร คำพูดของคนพาลจึงจะไร้ค่า ?
ก.
อย่าใส่ใจ
ข.
พิจารณาเหมือนลมพัด
ค.
เก็บไว้ในใจ
ง.
ข้อ ก. และ ข. ถูก
๒๒.
“พลั้งปากเสียศีล พลั้งตีนตกต้นไม้”
เป็นทุจริตอะไร ?
ก.
กายทุจริต
ข.
วจีทุจริต
ค.
มโนทุจริต
ง.
ถูกทุกข้อ
๒๓.
ผู้ไม่คิดร้ายทำลายคนอื่นให้เดือดร้อน ชื่อว่าประพฤติสุจริตใด ?
ก.
กายสุจริต
ข.
วจีสุจริต
ค.
มโนสุจริต
ง.
ถูกทุกข้อ
๒๔.
ข้อใด ไม่ใช่ลักษณะของความหลงงมงาย ?
ก.
เชื่อผู้รู้ใกล้ตัว
ข.
เชื่อเหตุผล
ค.
เชื่อเรื่องเปลี่ยนชื่อ
ง.
เชื่อมั่นตัวเอง
๒๕.
ข้อใด เป็นมูลเหตุของการคอรัปชั่น ?
ก.
โลภะ
ข.
โทสะ
ค.
โมหะ
ง.
ถูกทุกข้อ
๒๖.
ข้อใด ช่วยลดความเห็นแก่ตัว ?
ก.
รู้จักพอเพียง
ข.
ไม่ยึดมั่นถือมั่น
ค.
คิดถึงอกเขาอกเรา
ง.
ถูกทุกข้อ
๒๗.
อย่างไร ชื่อว่าไม่รอกินบุญเก่า ?
ก.
เก็บสมบัติไว้มากๆ
ข.
ส่งลูกเรียนสูงๆ
ค.
หมั่นบริจาค
ง.
เป็นพลเมืองดี
๒๘.
การทำบุญข้อใด ลงทุนน้อย แต่กลับได้บุญมาก ?
ก.
ทานมัย
ข.
สีลมัย
ค.
ภาวนามัย
ง.
ข้อ ข. และ ค. ถูก
๒๙.
ข้อใด ไม่ใช่ภาวนามัย ?
ก.
แผ่เมตตา
ข.
ปล่อยสัตว์
ค.
ไหว้พระสวดมนต์
ง.
ตั้งใจฟังเทศน์
๓๐.
การทำบุญบริจาคทาน จัดเข้าในบุญกิริยาวัตถุข้อใด ?
ก.
ทานมัย
ข.
สีลมัย
ค.
ภาวนามัย
ง.
ถูกทุกข้อ
๓๑.
ข้อใด เป็นเหตุแห่งความเจริญ ?
ก.
คบสัตบุรุษ
ข.
ฟังและตรองตามท่าน
ค.
ปฏิบัติตามธรรม
ง.
ถูกทุกข้อ
๓๒.
“แข่งเรือแข่งพายพอแข่งได้ แข่งบุญวาสนาแข่งกันไม่ได้”
ตรงกับธรรมข้อใด ?
ก.
คบหาสัตบุรุษ
ข.
ได้ทำบุญไว้ปางก่อน
ค.
ตั้งตนไว้ชอบ
ง.
อยู่ในประเทศสมควร
๓๓.
ข้อใด ตรงกับอัตตสัมมาปณิธิ ตั้งตนไว้ชอบ ?
ก.
สร้างบุญใหม่
ข.
กินบุญเก่า
ค.
คอยเฝ้าขอพร
ง.
อ้อนวอนเทวดา
๓๔.
“จะรักษาความเป็นกลางและยุติธรรม”
ต้องเว้นอะไร ?
ก.
อกุศล
ข.
อบายมุข
ค.
อคติ
ง.
อนันตริยกรรม
๓๕.
“คนนี้ไม่ถูกชะตาฉันเลย”
ตรงกับอคติข้อใด ?
ก.
ฉันทาคติ
ข.
โทสาคติ
ค.
โมหาคติ
ง.
ภยาคติ
๓๖.
ปธาน คือความเพียร ๔ อย่าง คือมรรค ๘ ข้อใด ?
ก.
สัมมาทิฏฐิ
ข.
สัมมาสังกัปปะ
ค.
สัมมาวาจา
ง.
สัมมาวายามะ
๓๗.
ซื่อสัตย์ ตรงไปตรงมา เป็นอธิษฐานธรรมข้อใด ?
ก.
ปัญญา
ข.
สัจจะ
ค.
จาคะ
ง.
อุปสมะ
๓๘.
จะบรรลุจุดประสงค์ซึ่งไม่เหลือวิสัยได้ ด้วยธรรมอะไร ?
ก.
วุฑฒิ ๔
ข.
จักร ๔
ค.
อิทธิบาท ๔
ง.
ปธาน ๔
๓๙.
พรหมวิหารข้อใด ควรแผ่ไปยังสัตว์ทั้งปวง ?
ก.
เมตตา
ข.
กรุณา
ค.
มุทิตา
ง.
อุเบกขา
๔๐.
ข้อใด มีความหมายตรงกับคำว่า
“กรุณา”
?
ก.
ปรารถนาให้มีความสุข
ข.
ปรารถนาให้พ้นจากทุกข์
ค.
พลอยชื่นชมยินดีด้วย
ง.
วางตัวเฉยเป็นกลางๆ
๔๑.
“ปรารถนาสิ่งใด ไม่ได้สมหวัง”
จัดเป็นอริยสัจข้อใด ?
ก.
ทุกข์
ข.
สมุทัย
ค.
นิโรธ
ง.
มรรค
๔๒.
ข้อใด เป็นอานิสงส์แห่งการฟังธรรม ?
ก.
ได้ฟังเรื่องใหม่
ข.
บรรเทาความสงสัย
ค.
มีความเห็นถูกต้อง
ง.
ถูกทุกข้อ
๔๓.
รู้จักจับจ่ายใช้สอยเก็บหอมรอมริบ เป็นสัปปุริสธรรมข้อใด ?
ก.
รู้จักเหตุ
ข.
รู้จักผล
ค.
รู้จักตน
ง.
รู้จักประมาณ
๔๔.
“ใจป้ำ คำดี มีกิจเห็น เป็นกันเอง”
ตรงกับหลักธรรมข้อใด ?
ก.
สังคหวัตถุ
ข.
ฆราวาสธรรม
ค.
อริยสัจ
ง.
อิทธิบาท
๔๕.
กินใช้อย่างพอเพียง ไม่ฟุ้งเฟ้อนัก ไม่ให้ฝืดเคืองนัก คือข้อใด ?
ก.
อุฏฐานสัมปทา
ข.
อารักขสัมปทา
ค.
กัลยาณมิตตตา
ง.
สมชีวิตา
๔๖.
คนที่ใช้จ่ายเกินตัวเรียกว่า
“ติดลบ”
เพราะขาดธรรมข้อใด ?
ก.
อุฏฐานสัมปทา
ข.
อารักขสัมปทา
ค.
กัลยาณมิตตตา
ง.
สมชีวิตา
๔๗.
ข้อใด เป็นความหมายของปิยวาจา ?
ก.
พูดหวานปานจะกลืน
ข.
พูดไพเราะก่อสามัคคี
ค.
พูดแทงใจดำ
ง.
พูดตรงไปตรงมา
๔๘.
“รู้จักปลง ปล่อยวาง ทำจิตให้ผ่องใส ไม่ขุ่นมัว”
ตรงกับข้อใด ?
ก.
สัจจะ
ข.
ทมะ
ค.
ขันติ
ง.
จาคะ
๔๙.
“ให้ความเคารพ เชื่อฟัง ช่วยเหลือ เรียนศิลปวิทยาโดยเคารพ”
คือหน้าที่ของใคร ?
ก.
บุตรธิดา
ข.
ศิษย์
ค.
ครูอาจารย์
ง.
มารดาบิดา
๕๐.
ข้อใด คืออบายมุข
“เหตุเครื่องฉิบหาย”
?
ก.
ดื่มน้ำเมา เสพสิ่งเสพติด
ข.
เที่ยวเตร่ ไม่ทำงาน
ค.
เล่นการพนัน คบคนชั่ว
ง.
ถูกทุกข้อ
เอกสารอ้างอิง
เรื่องสอบธรรม ของสนามหลวงแผนกธรรม พ.ศ.๒๕๔๙. หน้า
ข้อสอบสนามหลวง
พ.ศ. ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๑
พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๖๕
พ.ศ. ๒๕๖๖
พ.ศ. ๒๕๖๗
พ.ศ. ๒๕๖๘
พ.ศ. ๒๕๖๙
พ.ศ. ๒๕๗๐
พ.ศ. ๒๕๗๑
พ.ศ. ๒๕๗๒
พ.ศ. ๒๕๗๓
พ.ศ. ๒๕๗๔
พ.ศ. ๒๕๗๕
พ.ศ. ๒๕๗๖
พ.ศ. ๒๕๗๗
พ.ศ. ๒๕๗๘
พ.ศ. ๒๕๗๙
พ.ศ. ๒๕๘๐
พ.ศ. ๒๕๘๑
พ.ศ. ๒๕๘๒
พ.ศ. ๒๕๘๓
พ.ศ. ๒๕๘๔
พ.ศ. ๒๕๘๕
พ.ศ. ๒๕๘๖
พ.ศ. ๒๕๘๗
พ.ศ. ๒๕๘๘
พ.ศ. ๒๕๘๙
พ.ศ. ๒๕๙๐
พ.ศ. ๒๕๙๑
พ.ศ. ๒๕๙๒
พ.ศ. ๒๕๙๓
พ.ศ. ๒๕๙๔
พ.ศ. ๒๕๙๕
พ.ศ. ๒๕๙๖
พ.ศ. ๒๕๙๗
พ.ศ. ๒๕๙๘
พ.ศ. ๒๕๙๙
พ.ศ. ๒๖๐๐