ปัญหาและเฉลย
วิชากรรมบถ (วินัย) ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันจันทร์ ที่ ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๙
เวลา ๑๕.๐๐ - ๑๕.๕๐ น.
คำสั่ง :
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว
ระบายใน
กระดาษใบตอบ
ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑.
ทางของการกระทำที่ประกอบด้วยเจตนา เรียกว่าอะไร ?
ก.
กรรมบถ
ข.
กรรมวิบาก
ค.
กรรมสัทธา
ง.
กรรมลิขิต
๒.
พระพุทธศาสนาสอนให้เชื่อเรื่องใด ?
ก.
ไสยศาสตร์
ข.
ปาฏิหาริย์
ค.
กรรม
ง.
เทพเจ้า
๓.
สิ่งใดสำคัญที่สุดในการกระทำกรรม ?
ก.
เจตนา
ข.
อารมณ์
ค.
อวิชชา
ง.
สังขาร
๔.
กรรมที่ทำทางวาจา เรียกว่าอะไร ?
ก.
กายกรรม
ข.
วจีกรรม
ค.
มโนกรรม
ง.
วิบากกรรม
๕.
กรรมเป็นทางไปสู่สุคติหรือทุคติ ตรงกับข้อใด ?
ก.
กรรมเวร
ข.
กรรมคติ
ค.
กรรมนิมิต
ง.
กรรมบถ
๖.
การฆ่าสัตว์ตัดชีวิต เป็นกรรมประเภทใด ?
ก.
กายกรรม
ข.
วจีกรรม
ค.
มโนกรรม
ง.
ถูกทุกข้อ
๗.
ข้อใด ไม่เป็นอารมณ์แห่งปาณาติบาต ?
ก.
เงิน
ข.
นก
ค.
ปลา
ง.
ม้า
๘.
ข้อใด ไม่ใช่กิริยาที่ประพฤติก้าวล่วงต่อสัตว์มีชีวิต ?
ก.
การฆ่า
ข.
การทำร้ายร่างกาย
ค.
การทรกรรม
ง.
การโจรกรรม
๙.
ข้อใด ไม่เป็นเหตุจูงใจให้ทำปาณาติบาต ?
ก.
ปักษี
ข.
ปักษา
ค.
ปาณา
ง.
ปรานี
๑๐.
จิตคิดจะฆ่า เป็นองค์แห่งอกุศลกรรมบถข้อใด ?
ก.
ปาณาติบาต
ข.
พยาบาท
ค.
อทินนาทาน
ง.
ผรุสวาจา
๑๑.
ฆ่าโดยอาการใดมีโทษมากที่สุด ?
ก.
เพื่อป้องกันตัว
ข.
ไตร่ตรองไว้ก่อน
ค.
บันดาลโทสะ
ง.
ป้องกันโรค
๑๒.
ปาณาติบาตมีโทษมาก เพราะฆ่าสัตว์ชนิดใด ?
ก.
ช้าง
ข.
สุนัข
ค.
แมว
ง.
ลิง
๑๓.
ปาณาติบาตมีองค์กี่ประการ ?
ก.
๓ ประการ
ข.
๔ ประการ
ค.
๕ ประการ
ง.
๖ ประการ
๑๔.
คำว่า มือเปื้อนเลือด ตรงกับอกุศลกรรมบถข้อใด ?
ก.
ปาณาติบาต
ข.
อทินนาทาน
ค.
กาเมสุมิจฉาจาร
ง.
สัมผัปปลาปะ
๑๕.
ข้อใด เป็นปาณาติบาตที่เกิดขึ้นทางวจีทวาร ?
ก.
ฆ่าตัวตาย
ข.
สั่งให้ฆ่า
ค.
จิตคิดจะฆ่า
ง.
ลงมือฆ่า
๑๖.
ข้อใด ไม่ใช่องค์แห่งอทินนาทาน ?
ก.
วัตถุมีเจ้าของ
ข.
ของส่วนตัว
ค.
รู้ว่ามีเจ้าของ
ง.
จิตคิดจะลัก
๑๗.
ข้อใด เป็นผลกรรมเกิดจากการล่วงละเมิดอทินนาทาน ?
ก.
สมบัติสูญหาย
ข.
รายได้เพิ่มพูน
ค.
ตระกูลมั่งคั่ง
ง.
อายุยั่งยืน
๑๘.
ฉ้อราษฎร์บังหลวง เป็นการประพฤติล่วงอกุศลกรรมบถใด ?
ก.
อทินนาทาน
ข.
กาเมสุมิจฉาจาร
ค.
พยาบาท
ง.
มิจฉาทิฏฐิ
๑๙.
อทินนาทานที่เกิดขึ้นทางวจีทวาร ตรงกับข้อใด ?
ก.
จิตคิดจะลัก
ข.
พยายามลัก
ค.
ลักด้วยตนเอง
ง.
สั่งให้คนอื่นลัก
๒๐.
อทินนาทานมีโทษมาก เพราะขโมยของประเภทใด ?
ก.
ของประณีต
ข.
ของสำคัญ
ค.
ของผู้มีคุณ
ง.
ถูกทุกข้อ
๒๑.
องค์แห่งอทินนาทานข้อใด ทำให้สำเร็จเป็นกรรมบถ ?
ก.
ของมีเจ้าของ
ข.
คิดจะลัก
ค.
พยายามลัก
ง.
ลักมาได้
๒๒.
อทินนาทานมีโทษมาก เพราะเจ้าของมีคุณมาก ตรงกับข้อใด ?
ก.
พ่อแม่
ข.
เพื่อน
ค.
พี่น้อง
ง.
หลาน
๒๓.
รับสินบน เป็นการกระทำผิดอกุศลกรรมบถข้อใด ?
ก.
ปาณาติบาต
ข.
อทินนาทาน
ค.
ผรุสวาท
ง.
ปิสุณวาจา
๒๔.
สิ่งของในข้อใด จัดเป็นวัตถุแห่งอทินนาทาน ?
ก.
เจ้าของทิ้ง
ข.
เจ้าของหวง
ค.
เจ้าของให้
ง.
เจ้าของแจก
๒๕.
กาเมสุมิจฉาจาร เกิดขึ้นได้ทางใด ?
ก.
ทางกาย
ข.
ทางวาจา
ค.
ทางใจ
ง.
ถูกทุกข้อ
๒๖.
ความประพฤติผิดในกาม ตรงกับข้อใด ?
ก.
ไม่เคารพพ่อแม่
ข.
ไม่เชื่อผู้ใหญ่
ค.
นอกใจคู่ครอง
ง.
ไม่ทำตามกฎ
๒๗.
ข้อใด เป็นอารมณ์ของกาเมสุมิจฉาจาร ?
ก.
บุรุษ
ข.
สตรี
ค.
ซากศพ
ง.
ถูกทุกข้อ
๒๘.
องค์แห่งกาเมสุมิจฉาจาร ตรงกับข้อใด ?
ก.
จิตคิดจะฆ่า
ข.
จิตคิดจะลัก
ค.
จิตคิดจะเสพ
ง.
จิตคิดจะพูด
๒๙.
ข้อใด เป็นผลกรรมเกิดจากการล่วงละเมิดกาเมสุมิจฉาจาร ?
ก.
มีอายุสั้น
ข.
ทรัพย์วิบัติ
ค.
มีศัตรูรอบด้าน
ง.
ถูกกล่าวตู่ใส่ร้าย
๓๐.
การประพฤติอกุศลกรรมบถเช่นไร เรียกว่า มุสาวาท ?
ก.
พูดเท็จ
ข.
พูดคำหยาบ
ค.
พูดส่อเสียด
ง.
พูดเพ้อเจ้อ
๓๑.
เจตนาบิดเบือนข่าวสารทำให้คนเข้าใจผิดเป็นวจีกรรมประเภทใด ?
ก.
มุสาวาท
ข.
ปิสุณวาจา
ค.
ผรุสวาจา
ง.
สัมผัปปลาปะ
๓๒.
มุสาวาท เกิดขึ้นได้ทางใด ?
ก.
กาย วาจา
ข.
กาย ใจ
ค.
วาจา ใจ
ง.
กาย วาจา ใจ
๓๓.
ถ้อยคำใด จัดเป็นมุสาวาทในอกุศลกรรมบถ ?
ก.
โวหาร
ข.
สำคัญผิด
ค.
พลั้ง
ง.
กลับคำ
๓๔.
องค์แห่งมุสาวาทที่ถึงความสำเร็จเป็นอกุศลกรรมบถ คือข้อใด ?
ก.
เรื่องไม่จริง
ข.
คิดจะพูดให้ผิด
ค.
พยายามพูด
ง.
เข้าใจเนื้อความนั้น
๓๕.
ข้อใด เป็นผลกรรมเกิดจากการล่วงละเมิดมุสาวาท ?
ก.
มีอายุสั้น
ข.
ทรัพย์วิบัติ
ค.
มีศัตรูรอบด้าน
ง.
ถูกกล่าวตู่ใส่ร้าย
๓๖.
กล่าวให้ร้ายป้ายสีฝ่ายตรงข้าม เพื่อให้เขาเข้าข้างตน จัดเป็นวจีกรรมใด ?
ก.
พูดเท็จ
ข.
พูดคำหยาบ
ค.
พูดส่อเสียด
ง.
พูดเพ้อเจ้อ
๓๗.
ปิสุณวาจา เป็นสาเหตุแห่งปัญหาสังคมด้านใด ?
ก.
หย่าร้าง
ข.
เห็นแก่ตัว
ค.
โหดร้าย
ง.
แตกแยก
๓๘.
องค์แห่งปิสุณวาจาที่ถึงความสำเร็จเป็นอกุศลกรรมบถ คือข้อใด ?
ก.
ผู้ถูกทำลาย
ข.
จิตคิดจะพูด
ค.
พยายามพูด
ง.
เข้าใจเนื้อความนั้น
๓๙.
ข้อใด เป็นผลกรรมเกิดจากการล่วงละเมิดปิสุณวาจา ?
ก.
ศัตรูรอบด้าน
ข.
ถูกใส่ร้าย
ค.
แตกจากมิตร
ง.
ได้ฟังเสียงที่ไม่น่าพอใจ
๔๐.
การประพฤติอกุศลกรรมบถเช่นไร เรียกว่า ผรุสวาจา ?
ก.
พูดเท็จ
ข.
พูดคำหยาบ
ค.
พูดส่อเสียด
ง.
พูดเพ้อเจ้อ
๔๑.
ผรุสวาจามีโทษมาก เพราะบุคคลที่ถูกกระทำมีลักษณะเช่นไร ?
ก.
มีความรู้มาก
ข.
มีเงินมาก
ค.
มีอำนาจมาก
ง.
มีคุณธรรมมาก
๔๒.
คำพูดที่เป็นผรุสวาจา ผู้พูดมุ่งหวังเพื่ออะไร ?
ก.
ประทุษร้าย
ข.
หลอกลวง
ค.
ให้แตกแยก
ง.
ให้เข้าใจผิด
๔๓.
ข้อใด เป็นองค์ของผรุสวาจาที่ถึงความเป็นกรรมบถ ?
ก.
มีคนถูกด่า
ข.
มีจิตโกรธ
ค.
ด่าต่อหน้า
ง.
ด่าหลับหลัง
๔๔.
การพูดเช่นไร เรียกว่า สัมผัปปลาปะ ?
ก.
พูดเท็จ
ข.
พูดส่อเสียด
ค.
พูดคำหยาบ
ง.
พูดเพ้อเจ้อ
๔๕.
ข้อใด ไม่จัดเป็นสัมผัปปลาปะ ?
ก.
ฟังเทศน์
ข.
ฟังเพลง
ค.
ร้องเพลง
ง.
เต้นรำ
๔๖.
ข้อใด หมายถึงการเพ่งเล็งอยากได้ทรัพย์ของผู้อื่นมาเป็นของตน ?
ก.
อนภิชฌา
ข.
อภิชฌา
ค.
มิจฉาทิฏฐิ
ง.
พยาบาท
๔๗.
คิดจะให้ผู้อื่นประสบความพินาศ ตรงกับข้อใด ?
ก.
อภิชฌา
ข.
อนภิชฌา
ค.
พยาบาท
ง.
อพยาบาท
๔๘.
การประพฤติอย่างไร ชื่อว่า เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร ?
ก.
ไม่ป้องร้าย
ข.
คิดปองร้าย
ค.
เห็นผิด
ง.
เห็นชอบ
๔๙.
ความเห็นใด ปฏิเสธกรรมและผลของกรรม ?
ก.
สัมมาทิฏฐิ
ข.
มิจฉาทิฏฐิ
ค.
สักกายทิฏฐิ
ง.
สัสสตทิฏฐิ
๕๐.
ข้อใด เป็นมโนกรรมฝ่ายกุศล ?
ก.
เห็นชอบ
ข.
เห็นผิด
ค.
คิดละโมบ
ง.
คิดปองร้าย
เอกสารอ้างอิง
ปัญหาและเฉลยข้อสอบ นักธรรมชั้นโท-เอก และธรรมศึกษาตรี-โท-เอก พ.ศ.๒๕๕๙. หน้า ๑๑๙ - ๑๒๗.
ข้อสอบสนามหลวง
พ.ศ. ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๑
พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๖๕
พ.ศ. ๒๕๖๖
พ.ศ. ๒๕๖๗
พ.ศ. ๒๕๖๘
พ.ศ. ๒๕๖๙
พ.ศ. ๒๕๗๐
พ.ศ. ๒๕๗๑
พ.ศ. ๒๕๗๒
พ.ศ. ๒๕๗๓
พ.ศ. ๒๕๗๔
พ.ศ. ๒๕๗๕
พ.ศ. ๒๕๗๖
พ.ศ. ๒๕๗๗
พ.ศ. ๒๕๗๘
พ.ศ. ๒๕๗๙
พ.ศ. ๒๕๘๐
พ.ศ. ๒๕๘๑
พ.ศ. ๒๕๘๒
พ.ศ. ๒๕๘๓
พ.ศ. ๒๕๘๔
พ.ศ. ๒๕๘๕
พ.ศ. ๒๕๘๖
พ.ศ. ๒๕๘๗
พ.ศ. ๒๕๘๘
พ.ศ. ๒๕๘๙
พ.ศ. ๒๕๙๐
พ.ศ. ๒๕๙๑
พ.ศ. ๒๕๙๒
พ.ศ. ๒๕๙๓
พ.ศ. ๒๕๙๔
พ.ศ. ๒๕๙๕
พ.ศ. ๒๕๙๖
พ.ศ. ๒๕๙๗
พ.ศ. ๒๕๙๘
พ.ศ. ๒๕๙๙
พ.ศ. ๒๖๐๐