ปัญหาและเฉลย
วิชากรรมบถ (วินัย) ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันพุธ ที่ ๑๒ พฤจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๗
เวลา ๑๕.๐๐ - ๑๕.๕๐ น.
คำสั่ง :
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วฝนลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑.
สัตว์โลกมีทั้งสุขและทุกข์ ด้วยอำนาจอะไร ?
ก.
บุญ
ข.
บาป
ค.
กรรม
ง.
เวร
๒.
สิ่งใด พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสว่าเป็นกรรม ?
ก.
เจตนา
ข.
อารมณ์
ค.
สังขาร
ง.
มูล
๓.
การกระทำทางใจ เรียกว่าอะไร ?
ก.
กายกรรม
ข.
วจีกรรม
ค.
มโนกรรม
ง.
ผลกรรม
๔.
ทางแห่งการทำความดี เรียกว่าอะไร ?
ก.
กุศลกรรมบถ
ข.
อกุศลกรรมบถ
ค.
กุศลมูล
ง.
อกุศลมูล
๕.
อกุศลกรรมบถข้อใด เกิดทางกายทวารอย่างเดียว ?
ก.
ปาณาติบาต
ข.
อทินนาทาน
ค.
กาเมสุมิจฉาจาร
ง.
มุสาวาท
๖.
สุคติเป็นภูมิเกิดของสัตว์จำพวกใด ?
ก.
มนุษย์
ข.
เดียรัจฉาน
ค.
เปรต
ง.
อสุรกาย
๗.
สิ่งที่ใจเข้าไปยึดแล้วเป็นเหตุให้ทำกรรม เรียกว่าอะไร ?
ก.
อารมณ์
ข.
เวทนา
ค.
สัญญา
ง.
เจตนา
๘.
อะไรเป็นมูลเหตุให้กระทำกรรมชั่ว ?
ก.
กุศลมูล
ข.
อกุศลมูล
ค.
กุศลกรรม
ง.
อกุศลกรรม
๙.
ความรู้สึกในอารมณ์ว่าเป็นสุขทุกข์ เรียกว่าอะไร ?
ก.
เจตนา
ข.
เวทนา
ค.
อารมณ์
ง.
สังขาร
๑๐.
ข้อใด เป็นปาณาติบาตเกิดทางวจีทวาร ?
ก.
ฆ่าเอง
ข.
สั่งให้ฆ่า
ค.
คิดจะฆ่า
ง.
พยายามฆ่า
๑๑.
ข้อใด เป็นอารมณ์แห่งปาณาติบาต ?
ก.
ดินสอ
ข.
หนังสือ
ค.
ที่ดิน
ง.
สุนัข
๑๒.
กุศลกรรมบถข้อใด มุ่งสอนให้มีไมตรีจิตต่อกัน ?
ก.
ไม่ฆ่าสัตว์
ข.
ไม่ลักทรัพย์
ค.
ไม่พูดเท็จ
ง.
ไม่ส่อเสียด
๑๓.
คำว่า ปาณะ ในปาณาติบาต โดยปรมัตถ์ ได้แก่อะไร ?
ก.
จักขุนทรีย์
ข.
โสตินทรีย์
ค.
ฆานินทรีย์
ง.
ชีวิตินทรีย์
๑๔.
ข้อใด เป็นผลกรรมของผู้กระทำปาณาติบาต ?
ก.
โรคมาก
ข.
ยากจน
ค.
คนนินทา
ง.
ถูกใส่ร้าย
๑๕.
จิตคิดจะฆ่า เป็นองค์แห่งอกุศลกรรมบถข้อใด ?
ก.
ปาณาติบาต
ข.
อทินนาทาน
ค.
ผรุสวาจา
ง.
พยาบาท
๑๖.
ข้อใด จัดเป็นการทำความดีทางกายทวาร ?
ก.
ไม่โลภ
ข.
ไม่ปองร้าย
ค.
ไม่ลัก
ง.
ไม่เห็นผิด
๑๗.
สั่งคนอื่นไปลักทรัพย์ เป็นการละเมิดอกุศลกรรมบถข้อใด ?
ก.
ปาณาติบาต
ข.
อทินนาทาน
ค.
กาเมสุมิจฉาจาร
ง.
มุสาวาท
๑๘.
ผลกรรมของผู้กระทำอทินนาทาน ตรงกับข้อใด ?
ก.
พิการ
ข.
ขัดสน
ค.
มีทรัพย์
ง.
คนนับถือ
๑๙.
จิตคิดจะลัก เป็นองค์แห่งอกุศลกรรมบถข้อใด ?
ก.
ปาณาติบาต
ข.
อทินนาทาน
ค.
ผรุสวาจา
ง.
พยาบาท
๒๐.
อทินนาทานมีโทษมาก เพราะขโมยของบุคคลประเภทใด ?
ก.
มีคุณธรรม
ข.
มียศ
ค.
มีทรัพย์
ง.
มีบริวาร
๒๑.
ข้อใด ไม่เป็นวัตถุแห่งอทินนาทาน ?
ก.
ของหวง
ข.
.ของทิ้ง
ค.
ของฝาก
ง.
ของยืม
๒๒.
กาเมสุมิจฉาจาร เกิดขึ้นทางทวารใด ?
ก.
กายทวาร
ข.
วจีทวาร
ค.
มโนทวาร
ง.
ถูกทุกข้อ
๒๓.
องค์แห่งกาเมสุมิจฉาจารที่ให้สำเร็จเป็นกรรมบถ คือข้อใด ?
ก.
ลักมาได้
ข.
จิตยินดี
ค.
คนเข้าใจ
ง.
เรื่องไม่จริง
๒๔.
สทารสันโดษ หมายถึงความพึงพอใจในเรื่องใด ?
ก.
คู่คิด
ข.
คู่ครอง
ค.
คู่เที่ยว
ง.
คู่หู
๒๕.
ปัญหาสังคมด้านใด เกิดจากการละเมิดกาเมสุมิจฉาจาร ?
ก.
ยาเสพติด
ข.
การพนัน
ค.
แตกสามัคคี
ง.
ทางเพศ
๒๖.
วจีกรรมข้อใด เรียกว่ามุสาวาท ?
ก.
พูดเท็จ
ข.
พูดคำหยาบ
ค.
พูดส่อเสียด
ง.
พูดเพ้อเจ้อ
๒๗.
การพูดเพื่อหักประโยชน์ผู้อื่น ตรงกับข้อใด ?
ก.
มุสาวาท
ข.
ปิสุณวาจา
ค.
ผรุสวาจา
ง.
สัมผัปปลาปะ
๒๘.
องค์แห่งมุสาวาทข้อใด ทำให้สำเร็จเป็นอกุศลกรรมบถ ?
ก.
สัตว์ตาย
ข.
ลักมาได้
ค.
ใจยินดี
ง.
คนอื่นเข้าใจ
๒๙.
คำพูดส่อเสียด ก่อให้เกิดผลอย่างไร ?
ก.
เสียประโยชน์
ข.
หลงเชื่อ
ค.
แตกแยก
ง.
เจ็บใจ
๓๐.
การพูดเอาดีใส่ตัวเอาชั่วใส่ผู้อื่น ตรงกับข้อใด ?
ก.
พูดเท็จ
ข.
พูดส่อเสียด
ค.
พูดคำหยาบ
ง.
พูดเพ้อเจ้อ
๓๑.
เจตนาพูดคำเช่นใด ชื่อว่าผรุสวาจา ?
ก.
คำเท็จ
ข.
คำหยาบ
ค.
คำส่อเสียด
ง.
คำเพ้อเจ้อ
๓๒.
ผรุสวาจามีโทษมาก เพราะด่าคนเช่นใด ?
ก.
มีความรู้
ข.
มีทรัพย์
ค.
มีอำนาจ
ง.
มีคุณธรรม
๓๓.
เจตนาของผู้พูดผรุสวาจา ตรงกับข้อใด ?
ก.
ให้เข้าใจผิด
ข.
ให้แตกแยก
ค.
ให้เจ็บใจ
ง.
ให้หลงเชื่อ
๓๔.
สัมผัปปลาปะ คือการพูดเช่นไร ?
ก.
โกหก
ข.
ยุยง
ค.
หยาบ
ง.
ไร้สาระ
๓๕.
เจตนาเป็นเหตุละโมบ ตรงกับข้อใด ?
ก.
อนภิชฌา
ข.
อภิชฌา
ค.
พยาบาท
ง.
มิจฉาทิฏฐิ
๓๖.
บุคคลเช่นไร เรียกว่าลุแก่อำนาจอภิชฌา ?
ก.
โลภมาก
ข.
พูดมาก
ค.
ร้ายมาก
ง.
คิดมาก
๓๗.
คิดให้ผู้อื่นประสบความพินาศ ตรงกับข้อใด ?
ก.
อภิชฌา
ข.
อนภิชฌา
ค.
พยาบาท
ง.
มิจฉาทิฏฐิ
๓๘.
ข้อใด เพียงแค่คิดก็สำเร็จเป็นกรรมบถได้ ?
ก.
อทินนาทาน
ข.
มุสาวาท
ค.
ผรุสวาจา
ง.
พยาบาท
๓๙.
อกุศลกรรมบถข้อใด จัดเป็นมโนกรรม ?
ก.
ลักทรัพย์
ข.
พูดเท็จ
ค.
พูดเพ้อเจ้อ
ง.
ปองร้าย
๔๐.
อกุศลกรรมบถข้อใด มีโทษมากที่สุด?
ก.
อภิชฌา
ข.
พยาบาท
ค.
มิจฉาทิฏฐิ
ง.
มุสาวาท
๔๑.
อกุศลกรรมบถทางกาย ตรงกับข้อใด ?
ก.
เห็นผิด
ข.
ทำผิด
ค.
พูดผิด
ง.
คิดผิด
๔๒.
มิจฉาทิฏฐิ โดยสภาวะ ได้แก่กิเลสใด ?
ก.
โลภะ
ข.
โทสะ
ค.
โมหะ
ง.
มานะ
๔๓.
กรรมบถใด จัดเป็นวจีกรรมฝ่ายกุศล ?
ก.
ไม่โกหก
ข.
ไม่ละโมบ
ค.
ไม่ปองร้าย
ง.
ไม่เห็นผิด
๔๔.
ผู้งดเว้นจากการฆ่าสัตว์จะได้รับผลเช่นไร ?
ก.
สุขภาพดี
ข.
มีทรัพย์
ค.
คนเชื่อถือ
ง.
มีปัญญา
๔๕.
ข้อใด เป็นการทำความดีทางกาย ?
ก.
ไม่ขโมย
ข.
ไม่ละโมบ
ค.
ไม่พยาบาท
ง.
ไม่เห็นผิด
๔๖.
กุศลกรรมบถข้อใด สร้างความไว้วางใจในคู่ครอง ?
ก.
ไม่โลภ
ข.
ไม่ผิดในกาม
ค.
ไม่ปองร้าย
ง.
ไม่เห็นผิด
๔๗.
การพูดเพื่อสมานฉันท์ ต้องปฏิบัติตามกุศลกรรมบถข้อใด ?
ก.
เว้นพูดเท็จ
ข.
เว้นพูดส่อเสียด
ค.
เว้นพูดคำหยาบ
ง.
เว้นพูดเพ้อเจ้อ
๔๘.
การพูดอย่างมีเหตุผล ควรงดเว้นคำพูดเช่นใด ?
ก.
มุสาวาท
ข.
ผรุสวาจา
ค.
ปิสุณวาจา
ง.
สัมผัปปลาปะ
๔๙.
ไม่คิดอยากได้ของเขา จัดเป็นมโนกรรมข้อใด ?
ก.
อภิชฌา
ข.
อนภิชฌา
ค.
อพยาบาท
ง.
สัมมาทิฏฐิ
๕๐.
การเห็นว่าทานที่ให้แล้วมีผล จัดเป็นความเห็นใด ?
ก.
อกิริยทิฏฐิ
ข.
อเหตุกทิฏฐิ
ค.
มิจฉาทิฏฐิ
ง.
สัมมาทิฏฐิ
เอกสารอ้างอิง
เรื่องสอบธรรม ของสนามหลวงแผนกธรรม พ.ศ.๒๕๕๗. หน้า
ข้อสอบจริง สอบวันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ เวลา ๑๕.๐๐ - ๑๕.๕๐ น.
ข้อสอบสนามหลวง
พ.ศ. ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๑
พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๖๕
พ.ศ. ๒๕๖๖
พ.ศ. ๒๕๖๗
พ.ศ. ๒๕๖๘
พ.ศ. ๒๕๖๙
พ.ศ. ๒๕๗๐
พ.ศ. ๒๕๗๑
พ.ศ. ๒๕๗๒
พ.ศ. ๒๕๗๓
พ.ศ. ๒๕๗๔
พ.ศ. ๒๕๗๕
พ.ศ. ๒๕๗๖
พ.ศ. ๒๕๗๗
พ.ศ. ๒๕๗๘
พ.ศ. ๒๕๗๙
พ.ศ. ๒๕๘๐
พ.ศ. ๒๕๘๑
พ.ศ. ๒๕๘๒
พ.ศ. ๒๕๘๓
พ.ศ. ๒๕๘๔
พ.ศ. ๒๕๘๕
พ.ศ. ๒๕๘๖
พ.ศ. ๒๕๘๗
พ.ศ. ๒๕๘๘
พ.ศ. ๒๕๘๙
พ.ศ. ๒๕๙๐
พ.ศ. ๒๕๙๑
พ.ศ. ๒๕๙๒
พ.ศ. ๒๕๙๓
พ.ศ. ๒๕๙๔
พ.ศ. ๒๕๙๕
พ.ศ. ๒๕๙๖
พ.ศ. ๒๕๙๗
พ.ศ. ๒๕๙๘
พ.ศ. ๒๕๙๙
พ.ศ. ๒๖๐๐