ปัญหาและเฉลย
วิชากรรมบถ (วินัย) ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วัน ที่ ธ พ.ศ. ๒๕
เวลา ๑๕.๐๐ - ๑๕.๕๐ น.
คำสั่ง :
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วฝนลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑.
ทางแห่งกรรมที่ประกอบด้วยเจตนา เรียกว่าอะไร ?
ก.
กรรมสิทธิ์
ข.
กรรมบถ
ค.
กรรมพันธุ์
ง.
กรรมฐาน
๒.
อกุศลกรรม ย่อมนำให้สัตว์ไปเกิดในที่ใด ?
ก.
มนุษย์
ข.
เทวดา
ค.
พรหม
ง.
เปรต
๓.
กรรมที่นำสัตว์ให้ไปเกิดในสุคติตรงกับข้อใด ?
ก.
กุศลกรรม
ข.
อกุศลกรรม
ค.
กุศลมูล
ง.
อกุศลมูล
๔.
พระพุทธศาสนาสอนให้เชื่อเรื่องใด ?
ก.
การกระทำ
ข.
โชคลาง
ค.
ไสยศาสตร์
ง.
ภูตผี
๕.
กรรมใด เกิดขึ้นทางวจีทวาร ?
ก.
มุสาวาท
ข.
อภิชฌา
ค.
พยาบาท
ง.
มิจฉาทิฏฐิ
๖.
ช่องทางแห่งการทำดีและชั่วทางใจ เรียกว่าอะไร ?
ก.
กายทวาร
ข.
วจีทวาร
ค.
มโนทวาร
ง.
ไตรทวาร
๗.
กายกรรมที่ถึงความเป็นกรรมบถต้องประกอบด้วยอะไร ?
ก.
เวทนา
ข.
สัญญา
ค.
วิญญาณ
ง.
เจตนา
๘.
ข้อใด ไม่เป็นรากเหง้าแห่งอกุศลเหล่าอื่น ?
ก.
โลภะ
ข.
โทสะ
ค.
โมหะ
ง.
มิจฉาทิฏฐิ
๙.
อกุศลกรรมบถข้อใด มีสัตว์เป็นอารมณ์อย่างเดียว ?
ก.
ปาณาติบาต
ข.
อทินนาทาน
ค.
ปิสุณวาจา
ง.
ผรุสวาจา
๑๐.
อกุศลกรรมบถข้อใด มีทุกขเวทนาอย่างเดียว ?
ก.
ปาณาติบาต
ข.
อทินนาทาน
ค.
มุสาวาท
ง.
อภิชฌา
๑๑.
ข้อใด มีโมหะเป็นรากเหง้าอย่างเดียว ?
ก.
ฆ่าสัตว์
ข.
ลักทรัพย์
ค.
ปองร้าย
ง.
เห็นผิด
๑๒.
ข้อใด เป็นการประพฤติล่วงปาณาติบาต ?
ก.
ฆาตกรรม
ข.
โจรกรรม
ค.
วจีกรรม
ง.
อโหสิกรรม
๑๓.
คำว่า ปาณะ โดยสมมติสัจจะ ตรงกับข้อใด ?
ก.
มนุษย์
ข.
เปรต
ค.
เทวดา
ง.
พรหม
๑๔.
ความพยายามใด จัดเป็นองค์ของปาณาติบาต ?
ก.
ฆ่า
ข.
ลัก
ค.
เสพ
ง.
พูด
๑๕.
สัตว์ตาย เป็นองค์แห่งอกุศลกรรมบถข้อใด ?
ก.
ปาณาติบาต
ข.
อทินนาทาน
ค.
ผรุสวาจา
ง.
พยาบาท
๑๖.
ปาณาติบาตที่มีโทษมาก เพราะเหตุใด ?
ก.
สัตว์เล็ก
ข.
สัตว์มีคุณ
ค.
พยายามน้อย
ง.
กิเลสเบาบาง
๑๗.
ข้อใด เป็นการประพฤติล่วงอทินนาทาน ?
ก.
ฆาตกรรม
ข.
โจรกรรม
ค.
วจีกรรม
ง.
อโหสิกรรม
๑๘.
การถือเอาสิ่งของที่เขาไม่ได้ให้เป็นกิริยาของใคร ?
ก.
ฆาตกร
ข.
หัวขโมย
ค.
คนเจ้าชู้
ง.
คนโกหก
๑๙.
โกงทรัพย์สินของผู้อื่น เป็นการประพฤติล่วงอกุศลกรรมบถใด ?
ก.
ปาณาติบาต
ข.
อทินนาทาน
ค.
มุสาวาท
ง.
พยาบาท
๒๐.
องค์แห่งอทินนาทานข้อใด ที่ให้สำเร็จความเป็นกรรมบถ ?
ก.
ของมีเจ้าของ
ข.
จิตคิดจะลัก
ค.
พยายามลัก
ง.
ลักมาได้
๒๑.
การละเมิดคู่ครองของคนอื่น จัดเป็นอกุศลกรรมบถใด ?
ก.
ปาณาติบาต
ข.
อทินนาทาน
ค.
กาเมสุมิจฉาจาร
ง.
มุสาวาท
๒๒.
จิตคิดจะเสพ เป็นองค์แห่งอกุศลกรรมบถข้อใด ?
ก.
ปาณาติบาต
ข.
อทินนาทาน
ค.
กาเมสุมิจฉาจาร
ง.
มุสาวาท
๒๓.
การคบคนเช่นใด เป็นการประพฤติล่วงอกุศลกรรมบถข้อที่ ๓ ?
ก.
โจร
ข.
ชู้
ค.
คนชั่ว
ง.
คนโง่
๒๔.
โทษอย่างเบาของกาเมสุมิจฉาจาร ตรงกับข้อใด ?
ก.
ตกนรก
ข.
เป็นเปรต
ค.
เป็นสัตว์
ง.
มีศัตรูคู่เวร
๒๕.
คำพูดเช่นใด จัดเป็นมุสาวาท ?
ก.
เท็จ
ข.
หยาบ
ค.
ส่อเสียด
ง.
เพ้อเจ้อ
๒๖.
การพูดเช่นใด เป็นการประพฤติล่วงอกุศลกรรมบถข้อที่ ๔ ?
ก.
พูดมาก
ข.
พูดเล่น
ค.
พูดตลก
ง.
พูดปด
๒๗.
ข้อใด เป็นองค์แห่งมุสาวาท ?
ก.
เรื่องไม่จริง
ข.
จิตโกรธ
ค.
มีความยินดี
ง.
มีสัตว์อื่น
๒๘.
การพูดเพื่อให้แตกสามัคคีกัน เรียกว่าอะไร ?
ก.
มุสาวาท
ข.
ปิสุณวาจา
ค.
ผรุสวาจา
ง.
สัมผัปปลาปะ
๒๙.
คำพูดส่อเสียด ก่อให้เกิดผลอย่างไร ?
ก.
เสียประโยชน์
ข.
เจ็บใจ
ค.
แตกแยก
ง.
งมงาย
๓๐.
ผรุสวาจา ได้แก่คำพูดเช่นใด ?
ก.
เท็จ
ข.
หยาบ
ค.
ส่อเสียด
ง.
เพ้อเจ้อ
๓๑.
ข้อใด เป็นอกุศลกรรมบถเกิดขึ้นทางวจีทวาร ?
ก.
ฆ่าสัตว์
ข.
ขโมยของ
ค.
ด่าผู้อื่น
ง.
ปองร้าย
๓๒.
เจตนาเป็นเหตุให้พูดเรื่องไร้สาระ เรียกว่าอะไร ?
ก.
มุสาวาท
ข.
ปิสุณวาจา
ค.
ผรุสวาจา
ง.
สัมผัปปลาปะ
๓๓.
ข้อใด จัดเป็นอกุศลกรรมบถเกิดขึ้นทางมโนทวาร ?
ก.
อทินนาทาน
ข.
มุสาวาท
ค.
ปิสุณวาจา
ง.
อภิชฌา
๓๔.
คนมีจิตถูกอภิชฌาครอบงำ จะมีลักษณะเช่นใด ?
ก.
ชอบด่า
ข.
อยากได้
ค.
ไม่พอใจ
ง.
หลงลืม
๓๕.
อกุศลกรรมบถใด เกิดขึ้นด้วยอำนาจความโกรธ ?
ก.
มุสาวาท
ข.
อภิชฌา
ค.
พยาบาท
ง.
มิจฉาทิฏฐิ
๓๖.
เจตนาเป็นเหตุให้เห็นผิด ตรงกับอกุศลกรรมบถข้อใด ?
ก.
มุสาวาท
ข.
อภิชฌา
ค.
พยาบาท
ง.
มิจฉาทิฏฐิ
๓๗.
ข้อใด จัดเป็นมโนกรรม ?
ก.
ลักทรัพย์
ข.
พูดเท็จ
ค.
พูดเพ้อเจ้อ
ง.
เห็นผิด
๓๘.
ข้อใด เป็นกุศลกรรมบถ ?
ก.
อนภิชฌา
ข.
อภิชฌา
ค.
พยาบาท
ง.
มิจฉาทิฏฐิ
๓๙.
ข้อใด เป็นกุศลกรรมบถที่เกิดขึ้นทางกาย ?
ก.
ไม่ลักทรัพย์
ข.
ไม่ละโมบ
ค.
ไม่พยาบาท
ง.
เห็นชอบ
๔๐.
กุศลกรรมบถข้อที่ ๑ ช่วยลดพฤติกรรมในเรื่องใด ?
ก.
โหดร้าย
ข.
เห็นแก่ตัว
ค.
มักมากในกาม
ง.
ไม่ซื่อตรง
๔๑.
ข้อใด จัดเป็นธรรมจริยสมจริยาทางใจ ?
ก.
เว้นฆ่าสัตว์
ข.
เว้นลักทรัพย์
ค.
เว้นพูดเท็จ
ง.
เว้นปองร้าย
๔๒.
อุปนิสัยใด ทำความโลภให้เบาบางลง ?
ก.
ทานูปนิสัย
ข.
สีลูปนิสัย
ค.
ภาวนูปนิสัย
ง.
ถูกทุกข้อ
๔๓.
อทินนาทานา เวรมณี คือ เว้นจากการถือเอาสิ่งของชนิดใด ?
ก.
ของให้
ข.
ของหวง
ค.
ของทิ้ง
ง.
ของแจก
๔๔.
กุศลกรรมบถข้อที่ ๓ ส่งเสริมความซื่อสัตย์ระหว่างใคร ?
ก.
นายกับบ่าว
ข.
มิตรสหาย
ค.
สามีภรรยา
ง.
พี่น้อง
๔๕.
ความคิดเช่นใด จัดเป็นกุศลกรรมบถ ?
ก.
ทำชั่วได้ดี
ข.
ทำบาปได้บุญ
ค.
ทำดีได้ดี
ง.
ทำบุญได้บาป
๔๖.
กุศลกรรมบถข้อที่ ๔ มุ่งให้พูดเช่นใด ?
ก.
คำจริง
ข.
ไม่หยาบ
ค.
ไม่ส่อเสียด
ง.
มีสาระ
๔๗.
เมื่อต้องการให้เกิดความสามัคคีในสังคม ควรเว้นคำพูดเช่นใด ?
ก.
คำจริง
ข.
คำไพเราะ
ค.
คำยุยง
ง.
คำมีสาระ
๔๘.
คนมีนิสัยชอบแบ่งปัน เพราะประพฤติตามกุศลกรรมบถข้อใด ?
ก.
มุสาวาทา เวรมณี
ข.
อนภิชฌา
ค.
อพยาบาท
ง.
สัมมาทิฏฐิ
๔๙.
สีเลน โภคสมฺปทา เป็นอานิสงส์ของศีลที่จะพึงได้รับในภูมิใด ?
ก.
มนุษยภูมิ
ข.
เทวภูมิ
ค.
นรกภูมิ
ง.
อบายภูมิ
๕๐.
อานิสงส์ของศีลที่เป็นโลกุตตรสมบัติ ตรงกับข้อใด ?
ก.
เป็นมนุษย์
ข.
เป็นเทวดา
ค.
เป็นพรหม
ง.
เป็นโสดาบัน
เอกสารอ้างอิง
เรื่องสอบธรรม ของสนามหลวงแผนกธรรม พ.ศ.๒๕๕๘. หน้า ๒๑๙-๒๒๘.
สำเนาข้อสอบจริง ปี ๒๕๕๘.
ข้อสอบสนามหลวง
พ.ศ. ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๑
พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๖๕
พ.ศ. ๒๕๖๖
พ.ศ. ๒๕๖๗
พ.ศ. ๒๕๖๘
พ.ศ. ๒๕๖๙
พ.ศ. ๒๕๗๐
พ.ศ. ๒๕๗๑
พ.ศ. ๒๕๗๒
พ.ศ. ๒๕๗๓
พ.ศ. ๒๕๗๔
พ.ศ. ๒๕๗๕
พ.ศ. ๒๕๗๖
พ.ศ. ๒๕๗๗
พ.ศ. ๒๕๗๘
พ.ศ. ๒๕๗๙
พ.ศ. ๒๕๘๐
พ.ศ. ๒๕๘๑
พ.ศ. ๒๕๘๒
พ.ศ. ๒๕๘๓
พ.ศ. ๒๕๘๔
พ.ศ. ๒๕๘๕
พ.ศ. ๒๕๘๖
พ.ศ. ๒๕๘๗
พ.ศ. ๒๕๘๘
พ.ศ. ๒๕๘๙
พ.ศ. ๒๕๙๐
พ.ศ. ๒๕๙๑
พ.ศ. ๒๕๙๒
พ.ศ. ๒๕๙๓
พ.ศ. ๒๕๙๔
พ.ศ. ๒๕๙๕
พ.ศ. ๒๕๙๖
พ.ศ. ๒๕๙๗
พ.ศ. ๒๕๙๘
พ.ศ. ๒๕๙๙
พ.ศ. ๒๖๐๐