ปัญหาและเฉลย
วิชากรรมบถ (วินัย) ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันอังคาร ที่ ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๖
เวลา ๑๕.๐๐ - ๑๕.๕๐ น.
คำสั่ง :
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว ในช่องที่ต้องการ
ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑.
พระพุทธศาสนาสอนให้เชื่อเรื่องใด ?
ก.
เทพเจ้า
ข.
ปาฏิหาริย์
ค.
กรรม
ง.
ไสยศาสตร์
๒.
การกระทำทางกาย เรียกว่าอะไร ?
ก.
กายกรรม
ข.
วจีกรรม
ค.
มโนกรรม
ง.
ถูกทุกข้อ
๓.
สิ่งที่ใจเข้าไปยึดเหนี่ยวเป็นเหตุให้ทำกรรม เรียกว่าอะไร ?
ก.
เจตนา
ข.
เวทนา
ค.
อารมณ์
ง.
สังขาร
๔.
กรรมเป็นเหตุนำสัตว์ไปสู่สุคติและทุคติ เรียกว่าอะไร ?
ก.
กรรมบถ
ข.
กรรมลิขิต
ค.
กรรมวิบาก
ง.
กรรมกิเลส
๕.
ข้อใด ไม่ใช่อกุศลกรรมบถ ?
ก.
อพยาบาท
ข.
อทินนาทาน
ค.
มุสาวาท
ง.
มิจฉาทิฏฐิ
๖.
ข้อใด เป็นทั้งอกุศลกรรมบถและรากเหง้าของอกุศลอื่น ?
ก.
ปาณาติบาต
ข.
พยาบาท
ค.
อทินนาทาน
ง.
มุสาวาท
๗.
ทรัพย์สมบัติ จัดเป็นอารมณ์ของอกุศลกรรมบถใด ?
ก.
ปาณาติบาต
ข.
อทินนาทาน
ค.
มุสาวาท
ง.
มิจฉาทิฏฐิ
๘.
ข้อใด เป็นอกุศลกรรมบถเกิดขึ้นทางมโนทวาร ?
ก.
กาเมสุมิจฉาจาร
ข.
มุสาวาท
ค.
ผรุสวาจา
ง.
พยาบาท
๙.
ข้อใด เป็นองค์แห่งปาณาติบาต ?
ก.
ของมีเจ้าของ
ข.
สัตว์มีชีวิต
ค.
พยายามพูด
ง.
เรื่องไม่จริง
๑๐.
องค์แห่งปาณาติบาตที่ให้สำเร็จเป็นกรรมบถ คือข้อใด ?
ก.
สัตว์มีชีวิต
ข.
รู้ว่าสัตว์มีชีวิต
ค.
จิตคิดจะฆ่า
ง.
สัตว์ตาย
๑๑.
ข้อใด เป็นปาณาติบาตเกิดขึ้นทางวจีทวาร ?
ก.
ฆ่าตัวตาย
ข.
สั่งให้ฆ่า
ค.
ถูกยิงตาย
ง.
ลงมือฆ่า
๑๒.
ข้อใด เป็นวัตถุแห่งปาณาติบาต ?
ก.
สัตว์มีชีวิต
ข.
สัตว์ตาย
ค.
ทรัพย์สิน
ง.
เมรัย
๑๓.
ข้อใด เป็นโทษของการทำปาณาติบาต ?
ก.
ยากจน
ข.
ถูกโรคเบียดเบียน
ค.
ถูกใส่ร้าย
ง.
ขาดคนนับถือ
๑๔.
ปาณะ ในคำว่า ปาณาติบาต โดยปรมัตถ์ได้แก่อะไร ?
ก.
วัตถุสิ่งของ
ข.
ร่างกาย
ค.
ชีวิตินทรีย์
ง.
อารมณ์
๑๕.
โลภะ เป็นสมุฏฐานให้เกิดอะไร ?
ก.
ความรุนแรง
ข.
ความอยากได้
ค.
ความอาฆาต
ง.
ความงมงาย
๑๖.
ข้อใด ไม่ใช่องค์แห่งอทินนาทาน ?
ก.
วัตถุมีเจ้าของ
ข.
ของส่วนตัว
ค.
รู้ว่ามีเจ้าของ
ง.
จิตคิดจะลัก
๑๗.
ข้อใด ไม่จัดเป็นวัตถุแห่งอทินนาทาน ?
ก.
วัตถุที่เขาทิ้ง
ข.
วัตถุที่เขาหวง
ค.
วัตถุมีเจ้าของ
ง.
วัตถุที่เขาไม่ให้
๑๘.
ข้อใด เป็นผลของการทำอทินนาทาน ?
ก.
ขัดสน
ข.
ถูกใส่ความ
ค.
อายุสั้น
ง.
มีศัตรูคู่เวร
๑๙.
กาเมสุมิจฉาจาร เกิดขึ้นทางทวารใด ?
ก.
กายทวาร
ข.
วจีทวาร
ค.
มโนทวาร
ง.
ถูกทุกข้อ
๒๐.
ข้อใด เป็นผลของการทำกาเมสุมิจฉาจาร ?
ก.
ถูกกล่าวหา
ข.
อายุสั้น
ค.
ทรัพย์สูญหาย
ง.
หย่าร้าง
๒๑.
องค์แห่งมุสาวาทที่ให้สำเร็จเป็นกรรมบถ คือข้อใด ?
ก.
เรื่องไม่จริง
ข.
คิดจะพูดให้ผิด
ค.
พยายามพูด
ง.
คนอื่นเข้าใจ
๒๒.
คำพูดเช่นไร เรียกว่า ปิสุณวาจา ?
ก.
พูดเท็จ
ข.
พูดส่อเสียด
ค.
พูดคำหยาบ
ง.
พูดเพ้อเจ้อ
๒๓.
คำพูดมีเจตนาทำลายคนอื่นให้แตกแยก เรียกว่าอะไร ?
ก.
มุสาวาท
ข.
ข.ปิสุณวาจา
ค.
ผรุสวาจา
ง.
สัมผัปปลาปะ
๒๔.
คำพูดมีเจตนามุ่งทำลายเผาผลาญใจคนฟัง เรียกว่าอะไร ?
ก.
มุสาวาท
ข.
ปิสุณวาจา
ค.
ผรุสวาจา
ง.
สัมผัปปลาปะ
๒๕.
ข้อใด เป็นกุศลกรรมบถเกิดขึ้นทางวจีทวาร ?
ก.
กราบพระ
ข.
สวดมนต์
ค.
ฟังเทศน์
ง.
นั่งสมาธิ
๒๖.
เจตนากล่าวถ้อยคำอันหาประโยชน์มิได้ เรียกว่าอะไร ?
ก.
มุสาวาท
ข.
ข.ปิสุณวาจา
ค.
ผรุสวาจา
ง.
สัมผัปปลาปะ
๒๗.
พูดอย่างไร จัดเป็นสัมผัปปลาปะ ?
ก.
พูดโกหก
ข.
พูดเพ้อเจ้อ
ค.
พูดส่อเสียด
ง.
พูดคำหยาบ
๒๘.
เจตนาเป็นเหตุให้คนพูดเท็จ เรียกว่าอะไร ?
ก.
มุสาวาท
ข.
ข.ปิสุณวาจา
ค.
สัมผัปปลาปะ
ง.
ผรุสวาจา
๒๙.
คิดอย่างไร จัดเป็นพยาบาท ?
ก.
คิดอยากได้
ข.
คิดจะฆ่า
ค.
คิดจองเวร
ง.
คิดจะลัก
๓๐.
ข้อใด เป็นมโนกรรมอย่างเดียว ?
ก.
ปาณาติบาต
ข.
มิจฉาทิฏฐิ
ค.
อทินนาทาน
ง.
กาเมสุมิจฉาจาร
๓๑.
สั่งให้เขาลักทรัพย์ เป็นกายกรรมเกิดขึ้นทางทวารใด ?
ก.
กายทวาร
ข.
วจีทวาร
ค.
มโนทวาร
ง.
ถูกทุกข้อ
๓๒.
การเพ่งเล็งทรัพย์ของผู้อื่นน้อมมาเพื่อตน เรียกว่าอะไร ?
ก.
อภิชฌา
ข.
พยาบาท
ค.
มิจฉาทิฏฐิ
ง.
อนภิชฌา
๓๓.
ข้อใด จัดเป็นวจีกรรม ?
ก.
อภิชฌา
ข.
พยาบาท
ค.
มิจฉาทิฏฐิ
ง.
มุสาวาท
๓๔.
อกุศลกรรมบถใด เกิดขึ้นด้วยอำนาจความโลภ ?
ก.
มุสาวาท
ข.
อภิชฌา
ค.
พยาบาท
ง.
มิจฉาทิฏฐิ
๓๕.
ข้อใด เป็นอกุศลกรรมบถเกิดขึ้นทางใจ ?
ก.
มิจฉาทิฏฐิ
ข.
อทินนาทาน
ค.
ผรุสวาจา
ง.
ปิสุณวาจา
๓๖.
ความเชื่อเรื่องใด จัดเป็นมิจฉาทิฏฐิ ?
ก.
ทำดีได้ดี
ข.
ทานไม่มีผล
ค.
ทำชั่วได้ชั่ว
ง.
บุญมีผลดี
๓๗.
ความเห็นว่าพ่อแม่เป็นผู้มีพระคุณ จัดเป็นทิฏฐิใด ?
ก.
สัมมาทิฏฐิ
ข.
นัตถิกทิฏฐิ
ค.
อเหตุกทิฏฐิ
ง.
อกิริยทิฏฐิ
๓๘.
เมื่อผู้ประพฤติกุศลกรรมบถตายลง จะมีคติอย่างไร ?
ก.
เข้าถึงทุคติ
ข.
เข้าถึงอบาย
ค.
เข้าถึงสุคติ
ง.
เข้าถึงนรก
๓๙.
วิถีทางของบุคคลผู้ประพฤติอกุศลกรรมบถ ตรงกับข้อใด ?
ก.
สวรรค์
ข.
พรหม
ค.
มนุษย์
ง.
อสุรกาย
๔๐.
งดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม เป็นกุศลกรรมบถเกิดขึ้นทางใด ?
ก.
กายทวาร
ข.
วจีทวาร
ค.
มโนทวาร
ง.
ถูกทุกข้อ
๔๑.
การไม่เบียดเบียนกันในโลก จัดเป็นอุปนิสัยใด ?
ก.
สีลูปนิสัย
ข.
ทานูปนิสัย
ค.
ภาวนูปนิสัย
ง.
ถูกทุกข้อ
๔๒.
การไม่คิดอยากได้ในทางผิดศีลธรรม เรียกว่าอะไร ?
ก.
อภิชฌา
ข.
อนภิชฌา
ค.
มิจฉาทิฏฐิ
ง.
สัมมาทิฏฐิ
๔๓.
อพยาบาท เป็นเหตุงดเว้นอกุศลกรรมบถใด ?
ก.
ปาณาติบาต
ข.
อทินนาทาน
ค.
มุสาวาท
ง.
ปิสุณวาจา
๔๔.
อโมหะ เป็นรากเหง้าของกุศลกรรมบถใด ?
ก.
อนภิชฌา
ข.
อพยาบาท
ค.
สัมมาทิฏฐิ
ง.
ถูกทุกข้อ
๔๕.
การพูดให้เกิดความสมานฉันท์ ตรงข้ามกับข้อใด ?
ก.
มุสาวาท
ข.
ผรุสวาจา
ค.
ปิสุณวาจา
ง.
สัมผัปปลาปะ
๔๖.
คำจริง คำแท้ คำมีหลักฐาน แก้อกุศลกรรมบถข้อใด ?
ก.
ปาณาติบาต
ข.
อทินนาทาน
ค.
มุสาวาท
ง.
มิจฉาทิฏฐิ
๔๗.
เว้นจากการพูดยุยงให้แตกแยกกัน เป็นกุศลกรรมบถข้อใด ?
ก.
เว้น มุสาวาท
ข.
เว้น ผรุสวาจา
ค.
เว้น ปิสุณวาจา
ง.
เว้น สัมผัปปลาปะ
๔๘.
สัมมาทิฏฐิ โดยสภาวธรรม ได้แก่อะไร ?
ก.
อโลภะ
ข.
อโทสะ
ค.
อโมหะ
ง.
อนภิชฌา
๔๙.
ข้อใด เป็นการทำความดีทางกาย ?
ก.
ไม่ลักขโมย
ข.
ไม่เห็นผิด
ค.
ไม่ละโมบ
ง.
ไม่พยาบาท
๕๐.
กุศลกรรมบถ ๑๐ ประการ จัดเข้าในหลักธรรมใด ?
ก.
ศีล
ข.
สมาธิ
ค.
ปัญญา
ง.
วิมุตติ
เอกสารอ้างอิง
เรื่องสอบธรรม ของสนามหลวงแผนกธรรม พ.ศ.๒๕๕๖. หน้า ๒๗๒-๒๘๒.
ข้อสอบจริง สอบวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ เวลา ๑๕.๐๐ - ๑๕.๕๐ น.
ข้อสอบสนามหลวง
พ.ศ. ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๑
พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๖๕
พ.ศ. ๒๕๖๖
พ.ศ. ๒๕๖๗
พ.ศ. ๒๕๖๘
พ.ศ. ๒๕๖๙
พ.ศ. ๒๕๗๐
พ.ศ. ๒๕๗๑
พ.ศ. ๒๕๗๒
พ.ศ. ๒๕๗๓
พ.ศ. ๒๕๗๔
พ.ศ. ๒๕๗๕
พ.ศ. ๒๕๗๖
พ.ศ. ๒๕๗๗
พ.ศ. ๒๕๗๘
พ.ศ. ๒๕๗๙
พ.ศ. ๒๕๘๐
พ.ศ. ๒๕๘๑
พ.ศ. ๒๕๘๒
พ.ศ. ๒๕๘๓
พ.ศ. ๒๕๘๔
พ.ศ. ๒๕๘๕
พ.ศ. ๒๕๘๖
พ.ศ. ๒๕๘๗
พ.ศ. ๒๕๘๘
พ.ศ. ๒๕๘๙
พ.ศ. ๒๕๙๐
พ.ศ. ๒๕๙๑
พ.ศ. ๒๕๙๒
พ.ศ. ๒๕๙๓
พ.ศ. ๒๕๙๔
พ.ศ. ๒๕๙๕
พ.ศ. ๒๕๙๖
พ.ศ. ๒๕๙๗
พ.ศ. ๒๕๙๘
พ.ศ. ๒๕๙๙
พ.ศ. ๒๖๐๐