ปัญหาและเฉลย
วิชาเบญจศีล เบญจธรรม (วินัย) ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันพฤหัสบดี ที่ ๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๐
เวลา ๑๕.๐๐ - ๑๕.๕๐ น.
คำสั่ง :
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว ระบายในกระดาษใบตอบ
ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑.
ข้อใด รักษากายวาจาให้เรียบร้อย ?
ก.
ทาน
ข.
ศีล
ค.
สมาธิ
ง.
ปัญญา
๒.
ศีลมาจากคำว่า สีละ แปลว่าอะไร ?
ก.
เย็น
ข.
ปกติ
ค.
ปลอดโปร่ง
ง.
ถูกทุกข้อ
๓.
เจตนางดเว้นจากการทำผิดศีล เรียกว่าอะไร ?
ก.
อาบัติ
ข.
วิรัติ
ค.
วินัย
ง.
สิกขาบท
๔.
หลักธรรมสำหรับปฏิบัติคู่กับการรักษาศีล เรียกว่าอะไร ?
ก.
เบญจศีล
ข.
เบญจธรรม
ค.
เบญจขันธ์
ง.
เบญจวิรัติ
๕.
ศีลมีประโยชน์แก่ชาวโลกอย่างไร ?
ก.
ไม่เบียดเบียนกัน
ข.
อยู่ร่วมกันเป็นสุข
ค.
สามัคคีปรองดอง
ง.
ถูกทุกข้อ
๖.
ศีลข้อใด เป็นหลักประกันความปลอดภัยของชีวิตและร่างกาย ?
ก.
ข้อ ๑
ข.
ข้อ ๒
ค.
ข้อ ๓
ง.
ข้อ ๕
๗.
ข้อใด เป็นความมุ่งหมายของศีลข้อที่ ๑ ?
ก.
ให้มีเมตตา
ข.
ให้มีสติ
ค.
ให้มีสัจจะ
ง.
ให้มีความสุจริต
๘.
กิริยาทำชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป เรียกว่าอะไร ?
ก.
ฆ่า
ข.
ทำร้ายร่างกาย
ค.
ทรกรรม
ง.
กักขัง
๙.
การทำร้ายร่างกายให้แขนขาดขาขาด จัดเข้าในข้อใด ?
ก.
ทำให้บาดเจ็บ
ข.
ทำให้เสียโฉม
ค.
ทำให้พิการ
ง.
ทำให้ลำบาก
๑๐.
ข้อใด ไม่ใช่ปาณาติบาต แต่อนุโลมเข้าในปาณาติบาต ?
ก.
ทำให้ตาย
ข.
ทำให้เสียโฉม
ค.
ทำให้เสียทรัพย์
ง.
ทำให้เข้าใจผิด
๑๑.
ข้อใด เป็นองค์ประกอบของการทำปาณาติบาต ?
ก.
จิตคิดจะฆ่า
ข.
จิตคิดจะลัก
ค.
จิตคิดจะเสพ
ง.
จิตคิดจะดื่ม
๑๒.
ข้อใด เป็นอานิสงส์ของการรักษาศีลข้อที่ ๑ ?
ก.
อายุยืน
ข.
ร่ำรวย
ค.
คนยกย่อง
ง.
มีสติสมบูรณ์
๑๓.
ถือเอาสิ่งของผู้อื่นด้วยอาการแห่งขโมย เรียกว่าอะไร ?
ก.
ลัก
ข.
ฉ้อ
ค.
ปล้น
ง.
กรรโชก
๑๔.
ขู่ให้เจ้าของตกใจกลัวแล้วเอาสิ่งของไป เรียกว่าอะไร ?
ก.
ลัก
ข.
ลวง
ค.
ปล้น
ง.
กรรโชก
๑๕.
ปั้นเรื่องให้เขาเชื่อแล้วเอาทรัพย์มา เรียกว่าอะไร ?
ก.
หลอก
ข.
ลวง
ค.
ลัก
ง.
ลักลอบ
๑๖.
กิริยากินเศษกินเลย คือยักเอาไว้เป็นประโยชน์ของตัว เรียกว่าอะไร ?
ก.
หลอก
ข.
ลวง
ค.
ยักยอก
ง.
เบียดบัง
๑๗.
ข้อใด อนุโลมเข้าในโจรกรรม ?
ก.
รับสินบน
ข.
ผลาญ
ค.
หยิบฉวย
ง.
ยักยอก
๑๘.
ข้อใด เป็นวิบากกรรมของผู้ละเมิดศีลข้อที่ ๒ ?
ก.
มีโรครุมเร้า
ข.
เป็นคนเข็ญใจ
ค.
ครอบครัวแตกแยก
ง.
ถูกทุกข้อ
๑๙.
ความไว้วางใจกันและกันของสามีภรรยา เกิดขึ้นได้ด้วยศีลข้อใด ?
ก.
ข้อ ๒
ข.
ข้อ ๓
ค.
ข้อ ๔
ง.
ข้อ ๕
๒๐.
การกระทำใด เป็นการทำผิดศีลข้อที่ ๓ ?
ก.
ค้าอาวุธ
ข.
ค้าประเวณี
ค.
ค้ายาบ้า
ง.
ค้าของเถื่อน
๒๑.
สามีภรรยาไม่มีปัญหาการหย่าร้าง เพราะรักษาศีลข้อใด ?
ก.
ข้อ ๒
ข.
ข้อ ๓
ค.
ข้อ ๔
ง.
ข้อ ๕
๒๒.
พูดยุแหย่ให้คนอื่นแตกแยกกัน เป็นวจีทุจริตข้อใด ?
ก.
พูดเท็จ
ข.
พูดส่อเสียด
ค.
พูดเพ้อเจ้อ
ง.
พูดคำหยาบ
๒๓.
พูดกลับกรอกเชื่อถือไม่ได้ อนุโลมเข้าในมุสาวาทข้อใด ?
ก.
ปด
ข.
อำความ
ค.
หลอก
ง.
สับปลับ
๒๔.
การแสดงความเท็จให้ผู้อื่นเข้าใจผิด เรียกว่าอะไร ?
ก.
สำนวน
ข.
สุภาษิต
ค.
มุสา
ง.
โวหาร
๒๕.
สร้างหลักฐานเท็จ เป็นมุสาวาทเกิดขึ้นทางใด ?
ก.
ทางกาย
ข.
ทางวาจา
ค.
ทางใจ
ง.
ถูกทุกข้อ
๒๖.
มือถือสากปากถือศีล เป็นกิริยาอาการของข้อใด ?
ก.
เสริมความ
ข.
ทำเล่ห์กระเท่ห์
ค.
ทำเลศ
ง.
มารยา
๒๗.
การไม่ทำตามข้อตกลง หมายถึงข้อใด ?
ก.
คืนคำ
ข.
กลับคำ
ค.
หลอก
ง.
ผิดสัญญา
๒๘.
นิทานเรื่องเด็กเลี้ยงแกะ เป็นมุสาวาทลักษณะใด ?
ก.
ปด
ข.
ส่อเสียด
ค.
สับปลับ
ง.
อำความ
๒๙.
คนไม่เชื่อถือคำพูด เป็นผลของการละเมิดศีลข้อใด ?
ก.
ข้อ ๒
ข.
ข้อ ๓
ค.
ข้อ ๔
ง.
ข้อ ๕
๓๐.
ปัญหายาเสพติด เป็นผลกระทบจากการไม่รักษาศีลข้อใด ?
ก.
ข้อ ๒
ข.
ข้อ ๓
ค.
ข้อ ๔
ง.
ข้อ ๕
๓๑.
การทำผิดศีลข้อที่ ๕ ทำให้เกิดโรคใด ?
ก.
พิษสุราเรื้อรัง
ข.
ตับแข็ง
ค.
มะเร็งตับ
ง.
ถูกทุกข้อ
๓๒.
การรักษาศีลข้อที่ ๕ ส่งเสริมให้เกิดคุณธรรมใด ?
ก.
เมตตา
ข.
ขันติ
ค.
สติ
ง.
สัจจะ
๓๓.
ข้อใด เป็นสาเหตุทำให้ละเมิดศีลข้อที่ ๕ ?
ก.
สุรา
ข.
ง่วงนอน
ค.
เจ็บป่วย
ง.
คุยโทรศัพท์
๓๔.
ความปรารถนาดีต่อกัน คือเบญจธรรมข้อใด ?
ก.
สัจจะ
ข.
สัมมาอาชีวะ
ค.
เมตตา
ง.
กรุณา
๓๕.
ช่วยเหลือกันในยามลำบาก เป็นการประพฤติเบญจธรรมข้อใด ?
ก.
เมตตา
ข.
กรุณา
ค.
สัจจะ
ง.
สัมมาอาชีวะ
๓๖.
ชาดกเรื่องสุวรรณสาม เป็นตัวอย่างของเบญจธรรมข้อใด ?
ก.
เมตตา
ข.
กรุณา
ค.
สัจจะ
ง.
สัมมาอาชีวะ
๓๗.
การดำรงชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง จัดเข้าในเบญจธรรมข้อใด ?
ก.
สัมมาอาชีวะ
ข.
สติสัมปชัญญะ
ค.
สัจจะ
ง.
เมตตากรุณา
๓๘.
ใช้แรงงานเด็ก ชื่อว่าประพฤติไม่เป็นธรรมในอะไร ?
ก.
กิจการ
ข.
บุคคล
ค.
วัตถุ
ง.
ถูกทุกข้อ
๓๙.
ขายสินค้าตามราคากำหนด ชื่อว่าประพฤติเป็นธรรมในอะไร ?
ก.
กิจการ
ข.
บุคคล
ค.
วัตถุ
ง.
ถูกทุกข้อ
๔๐.
ทำงานตามหน้าที่ ชื่อว่าประพฤติเป็นธรรมในอะไร ?
ก.
กิจการ
ข.
บุคคล
ค.
วัตถุ
ง.
ถูกทุกข้อ
๔๑.
ศีลข้อที่ ๓ ควรประพฤติคู่กับเบญจธรรมข้อใด ?
ก.
เมตตา
ข.
สัมมาอาชีวะ
ค.
กามสังวร
ง.
สัจจะ
๔๒.
สทารสันโดษ หมายถึงการประพฤติตนเช่นไร ?
ก.
ซื่อสัตย์สุจริต
ข.
ตรงไปตรงมา
ค.
ไม่นอกใจภรรยา
ง.
ไม่นอกใจสามี
๔๓.
กามสังวร เป็นการสำรวมระวังในเรื่องใด ?
ก.
คู่ครอง
ข.
ยาเสพติด
ค.
ชีวิต
ง.
ทรัพย์สิน
๔๔.
เบญจธรรมข้อใด ทำให้การรักษาศีลข้อที่ ๔ มั่นคงยิ่งขึ้น ?
ก.
เมตตา
ข.
กรุณา
ค.
สัจจะ
ง.
สติสัมปชัญญะ
๔๕.
การไม่ตกอยู่ในอำนาจอคติ ๔ จัดเข้าในข้อใด ?
ก.
ซื่อตรง
ข.
เที่ยงธรรม
ค.
สวามิภักดิ์
ง.
กตัญญู
๔๖.
ความสวามิภักดิ์ เป็นหลักปฏิบัติระหว่างใครกับใคร ?
ก.
บ่าว-นาย
ข.
บุตร-มารดาบิดา
ค.
ศิษย์-อาจารย์
ง.
สามี-ภรรยา
๔๗.
ข้อใด เป็นการประพฤติตามหลักธรรมเรื่องความกตัญญู ?
ก.
เลี้ยงพ่อแม่
ข.
ช่วยเหลือเพื่อน
ค.
รับใช้นาย
ง.
รักษาผู้ป่วย
๔๘.
ไม่เลินเล่อในการทำงาน เป็นลักษณะของเบญจธรรมข้อใด ?
ก.
ความมีสัตย์
ข.
ความมีเมตตา
ค.
ความมีสติ
ง.
ความซื่อตรง
๔๙.
ข้อใด เป็นความไม่ประมาทในการทำงาน ?
ก.
ทำตามหน้าที่
ข.
รักษาหน้าที่
ค.
ไม่ก้าวก่ายหน้าที่
ง.
ถูกทุกข้อ
๕๐.
เบญจศีลเบญจธรรม เป็นข้อปฏิบัติเบื้องต้นสำหรับใคร ?
ก.
เด็ก
ข.
วัยรุ่น
ค.
ผู้ใหญ่
ง.
ถูกทุกข้อ
เอกสารอ้างอิง
เรื่องสอบธรรม ของสนามหลวงแผนกธรรม พ.ศ.๒๕๖๐. หน้า
สำเนาข้อสอบจริง สอบวันพฤหัสบดีที่ ๙ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๖๐.
ข้อสอบสนามหลวง
พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๑
พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๖๕
พ.ศ. ๒๕๖๖
พ.ศ. ๒๕๖๗
พ.ศ. ๒๕๖๘
พ.ศ. ๒๕๖๙
พ.ศ. ๒๕๗๐
พ.ศ. ๒๕๗๑
พ.ศ. ๒๕๗๒
พ.ศ. ๒๕๗๓
พ.ศ. ๒๕๗๔
พ.ศ. ๒๕๗๕
พ.ศ. ๒๕๗๖
พ.ศ. ๒๕๗๗
พ.ศ. ๒๕๗๘
พ.ศ. ๒๕๗๙
พ.ศ. ๒๕๘๐
พ.ศ. ๒๕๘๑
พ.ศ. ๒๕๘๒
พ.ศ. ๒๕๘๓
พ.ศ. ๒๕๘๔
พ.ศ. ๒๕๘๕
พ.ศ. ๒๕๘๖
พ.ศ. ๒๕๘๗
พ.ศ. ๒๕๘๘
พ.ศ. ๒๕๘๙
พ.ศ. ๒๕๙๐
พ.ศ. ๒๕๙๑
พ.ศ. ๒๕๙๒
พ.ศ. ๒๕๙๓
พ.ศ. ๒๕๙๔
พ.ศ. ๒๕๙๕
พ.ศ. ๒๕๙๖
พ.ศ. ๒๕๙๗
พ.ศ. ๒๕๙๘
พ.ศ. ๒๕๙๙
พ.ศ. ๒๖๐๐
พ.ศ. ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๙