ปัญหาและเฉลย
วิชาเบญจศีล เบญจธรรม (วินัย) ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันอาทิตย์ ที่ ๓๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๖
เวลา ๑๕.๐๐ - ๑๕.๕๐ น.
คำสั่ง :
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑.
ข้อใด ไม่ใช่ความหมายของศีล ?
ก.
ความสำรวม
ข.
ความสงบ
ค.
เจตนางดเว้น
ง.
ความไม่ล่วงละเมิด
๒.
คำว่า
เบญจศีล
เป็นศีลสำหรับใคร ?
ก.
พระภิกษุ
ข.
สามเณร
ค.
คนทั่วไป
ง.
คนถืออุโบสถศีล
๓.
เบญจศีล เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอะไร ?
ก.
นิจศีล
ข.
อนิจศีล
ค.
อุโบสถศีล
ง.
ถูกทุกข้อ
๔.
มนุษยธรรม ตรงกับศีลในข้อใด ?
ก.
ศีล ๕
ข.
ศีล ๘
ค.
ศีล ๑๐
ง.
ศีล ๒๒๗
๕.
คนเริ่มทำความดี ควรมีศีลเป็นหลัก เพราะเหตุใด ?
ก.
เพราะควรรักษาศีลก่อนให้ทาน
ข.
เพราะศีลเป็นเหตุให้เกิด
โภคทรัพย์
ค.
เพราะศีลนำความสุขมาให้ตราบ
เท่าชรา
ง.
เพราะศีลเป็นบรรทัดให้คน
ประพฤติดี
๖.
อะไรเป็นเครื่องสนับสนุนศีล ให้บริสุทธิ์บริบูรณ์ ?
ก.
วิรัติ
ข.
สุจริต
ค.
ทาน
ง.
ภาวนา
๗.
การกระทำในข้อใด เกี่ยวกับศีลข้อที่ ๑ ?
ก.
การเก็บส่วย
ข.
การฆ่าตัดตอน
ค.
การเล่นหวย
ง.
การฆ่ากิเลส
๘.
อาการเช่นไร เรียกว่า ฆ่าให้ลำบาก ?
ก.
ฆ่าคนที่หาความผิดมิได้
ข.
ฆ่าคนที่มีบุญคุณต่อตนเอง
ค.
ถูกบังคับให้ฆ่าคนจนกว่าจะตาย
ง.
ทุบตีให้บอบช้ำจนกว่าจะตาย
๙.
การฆ่าเช่นไร เรียกว่า ฆ่าโดยจงใจ ?
ก.
ฆ่าเพราะบันดาลโทสะ
ข.
วางแผนฆ่าเจ้าของทรัพย์
ค.
ฆ่าเพราะจะป้องกันตัว
ง.
วางแผนฆ่าแต่ยิงผิดตัว
๑๐.
คำว่า
ทรกรรม
ในศีลข้อที่ ๑ สำหรับใช้กับใคร ?
ก.
คนทั่วไป
ข.
คนพิการ
ค.
สัตว์ทั่วไป
ง.
คนและสัตว์
๑๑.
คนที่มีอายุสั้น เพราะวิบากกรรมในข้อใด ?
ก.
มักโกรธ
ข.
มักฆ่าสัตว์
ค.
มักดื่มสุรา
ง.
มักก่อวิวาท
๑๒.
ความมีเมตตาจิต ปรารถนาดีต่อกัน เป็นหน้าที่ของใคร ?
ก.
คนถือศีล ๕
ข.
คนถือศีล ๘
ค.
พระภิกษุสงฆ์
ง.
คนทั่วไป
๑๓.
คำว่า ทรัพย์ ในศีลข้อที่ ๒ หมายถึงทรัพย์ชนิดใด ?
ก.
ทรัพย์ที่อยู่ในบ้าน
ข.
ทรัพย์ที่อยู่ในป่า
ค.
ทรัพย์ที่ทำตกหาย
ง.
ถูกทุกข้อ
๑๔.
พระองค์ทรงบัญญัติศีลข้อที่ ๒ เพื่อพระประสงค์ใด ?
ก.
เพื่อไม่ให้เบียดเบียนกัน
ข.
เพื่อให้เป็นคนซื่อสัตย์
ค.
เพื่อป้องกันความแตกร้าว
ง.
เพื่อให้เลี้ยงชีวิตในทางที่ชอบ
๑๕.
คนชอบขโมยของตอนกลางคืน ควรแก้ด้วยคุณธรรมข้อใด ?
ก.
มีอาชีพชอบ
ข.
มีการงานชอบ
ค.
มีความเห็นชอบ
ง.
มีความพยายามชอบ
๑๖.
การแปลงสินทรัพย์เป็นทุน หมายถึงทรัพย์ในข้อใด ?
ก.
สังหาริมทรัพย์
ข.
อสังหาริมทรัพย์
ค.
อวิญญาณกทรัพย์
ง.
ถูกทุกข้อ
๑๗.
ข้อใด จัดเป็นโจรกรรมที่เรียกว่า ลักลอบ ?
ก.
กู้เงินกองทุนหมู่บ้านแล้วหลบหนี
ข.
แอบนำสินค้าเถื่อนเข้าประเทศ
ค.
อ้างกรรมสิทธิ์ครอบครองที่ดิน
ง.
ถูกทุกข้อ
๑๘.
คนที่สังคมเรียกว่า ร่ำรวยผิดปกติ เพราะสาเหตุใด ?
ก.
ค้ายาบ้า
ข.
เก็บส่วยรายวัน
ค.
เลี้ยงชีพในทางผิด
ง.
ถูกทุกข้อ
๑๙.
ตัวอย่างในข้อใด จัดเป็นโจรกรรมที่เรียกว่า ฉก ?
ก.
วิ่งราวโทรศัพท์มือถือ
ข.
เก็บส่วยวินมอเตอร์ไซค์
ค.
ยักยอกเงินกองทุนหมู่บ้าน
ง.
ทำปุ๋ยปลอมแจกให้ชาวนา
๒๐.
ข้อใด ไม่เกี่ยวข้องกับศีลข้อ ๓ ?
ก.
ความไว้วางใจกัน
ข.
ความไม่แตกร้าว
ค.
ความปรารถนาดีต่อกัน
ง.
ความพอใจในคู่ครอง
๒๑.
การหลอกลวงเรียกเก็บเงิน ในทางมิชอบ ตรงกับข้อใด ?
ก.
โจรกรรม
ข.
อนุโลมโจรกรรม
ค.
ฉายาโจรกรรม
ง.
ถูกทุกข้อ
๒๒.
การไม่ประพฤติผิดในกาม จัดเป็นสุจริตใด ?
ก.
กายสุจริต
ข.
วจีสุจริต
ค.
มโนสุจริต
ง.
ถูกทุกข้อ
๒๓.
กรณีคืนบาป พรหมพิราม สะท้อนให้เห็นถึงการละเมิดศีลข้อใด ?
ก.
ศีลข้อ ๑
ข.
ศีลข้อ ๒
ค.
ศีลข้อ ๓
ง.
ศีลข้อ ๕
๒๔.
“ รักตัวเอง รักครอบครัว อย่ามีภรรยาน้อย ”
คำขวัญนี้สนับสนุนให้
้ผู้ชายทุกคน รักษาศีลข้อใด ?
ก.
ศีลข้อ ๒
ข.
ศีลข้อ ๓
ค.
ศีลข้อ ๔
ง.
ศีลข้อ ๕
๒๕.
ศีลข้อใด ทำให้ผู้รักษามีความซื่อตรง ?
ก.
เว้นลักทรัพย์
ข.
เว้นประพฤติผิดในกาม
ค.
เว้นพูดเท็จ
ง.
เว้นดื่มสุราเมรัย
๒๖.
จงใจพูดให้ผู้อื่นเข้าใจผิด แต่เขาไม่ได้ยิน ผิดศีลข้อ ๔ หรือไม่ ?
ก.
ผิด เพราะมีเจตนาพูดเท็จ
ข.
ผิด เพราะพยายามพูดเท็จ
ค.
ไม่ผิด เพราะเรื่องนั้นจริง
ง.
ไม่ผิด เพราะไม่ครบองค์มุสาวาท
๒๗.
พูดเท็จแก่ใคร มีโทษหนัก ?
ก.
ปู่ ย่า
ข.
พ่อ แม่
ค.
ลุง ป้า
ง.
น้า อา
๒๘.
การแสดงความเท็จ เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจผิด เกิดขึ้นทางใดบ้าง ?
ก.
ทางวาจาอย่างเดียว
ข.
ทางวาจา ทางใจ
ค.
ทางกาย ทางวาจา
ง.
ทางกาย วาจา ใจ
๒๙.
การสั่นศีรษะปฏิเสธ ให้เขาเข้าใจผิด จัดเป็นมุสาวาท หรือไม่ ?
ก.
ไม่เป็น เพราะไม่ได้เปล่งวาจา
ข.
ไม่เป็น เพราะไม่ครบองค์มุสาวาท
ค.
เป็น เพราะมุ่งเจตนาอย่างเดียว
ง.
เป็น เพราะคนอื่นรู้เรื่องนั้น
๓๐.
วาจาเช่นไร ทำให้คนแตกสามัคคี ?
ก.
พูดเท็จ
ข.
พูดส่อเสียด
ค.
พูดคำหยาบ
ง.
พูดเพ้อเจ้อ
๓๑.
การห้ามโฆษณาเครื่องดื่มผสมแอลกอฮอล์ก่อน ๔ ทุ่ม เพื่อป้องกันการทำ
ผิดศีลข้อใด ?
ก.
ศีลข้อ ๒
ข.
ศีลข้อ ๓
ค.
ศีลข้อ ๔
ง.
ศีลข้อ ๕
๓๒.
ข้อใด เป็นลักษณะเด่นของคนที่ไม่ดื่มสุรา เมรัย ?
ก.
มีสติรอบคอบ
ข.
มีความซื่อสัตย์
ค.
มีความขยัน
ง.
มีสมาธิแน่วแน่
๓๓.
การดื่มสุรา เป็นปฏิปักษ์ต่อคุณธรรมข้อใด ?
ก.
ศรัทธา
ข.
สติ
ค.
ขันติ
ง.
เมตตา
๓๔.
แสนเสน่ห์ตั้งใจเลิกดื่มสุรา เมื่อเข้าพรรษา จัดเป็นวิรัติใด ?
ก.
สัมปัตตวิรัติ
ข.
สมาทานวิรัติ
ค.
สมุจเฉทวิรัติ
ง.
ถูกทุกข้อ
๓๕.
วิรัติของพระอริยเจ้า ตรงกับข้อใด ?
ก.
สัมปัตตวิรัติ
ข.
สมาทานวิรัติ
ค.
สมุจเฉทวิรัติ
ง.
ถูกทุกข้อ
๓๖.
สำนวนว่า
“ ควายขวิดลูก ไม่ถูกปลายเขา ”
ตรงกับข้อใด ?
ก.
เมตตา กรุณา
ข.
ขันติ โสรัจจะ
ค.
กตัญญูกตเวที
ง.
ความซื่อสัตย์
๓๗.
หนึ่งผลิตภัณฑ์ หนึ่งตำบล สนับสนุนกัลยาณธรรมข้อใด ?
ก.
สัมมาสติ
ข.
สัมมาสมาธิ
ค.
สัมมาอาชีวะ
ง.
สัมมาวาจา
๓๘.
สทารสันโดษ เป็นคุณสำหรับประดับชายประเภทใด ?
ก.
อายุต่ำกว่า ๑๘
ข.
แต่งงานแล้ว
ค.
โสด
ง.
สูงอายุ
๓๙.
สามีภรรยาที่ครองคู่จนตลอดชีวิต ร่วมสุขร่วมทุกข์ด้วยกัน ไม่นอกใจกัน
เพราะตั้งตนอยู่ในกัลยาณธรรมข้อใด ?
ก.
เมตตาสงสาร
ข.
ความกตัญญู
ค.
อาชีพสุจริต
ง.
สำรวมในกาม
๔๐.
สำนวนว่า
“ อยู่คนเดียวให้ระวังความคิด อยู่กับหมู่มิตรให้ระวัง
วาจา ”
สอนให้มีสติรอบคอบในเรื่องใด ?
ก.
อาหาร
ข.
การงาน
ค.
การประพฤติตัว
ง.
ธรรม
๔๑.
จะหลีกเลี่ยงการละเมิดศีลข้อที่ ๓ ได้ เพราะมีอะไรสนับสนุน ?
ก.
ความซื่อตรง
ข.
ความสำรวมในกาม
ค.
ความมีสัตย์
ง.
ความมีสติรอบคอบ
๔๒.
ลูกจ้างทำงานด้วยความตั้งใจ ไม่หลบเลี่ยงจากการงาน ได้ชื่อว่า
ประพฤติเป็นธรรมในอะไร ?
ก.
นายจ้าง
ข.
บริษัท
ค.
เวลา
ง.
หน้าที่
๔๓.
พ่อค้าขายปุ๋ยปลอมไม่มีคุณภาพ ให้แก่ชาวนา ได้ชื่อว่า ประพฤติ
ไม่เป็นธรรมในข้อใด ?
ก.
ชาวนา
ข.
วัตถุ
ค.
กิจการ
ง.
หน้าที่
๔๔.
ข้อใด เป็นเหตุเสื่อมเสียจากการเที่ยวสถานอาบ อบ นวด ?
ก.
เสียทรัพย์
ข.
เกิดโรคติดต่อ
ค.
เกิดการวิวาท
ง.
ถูกทุกข้อ
๔๕.
คนมีพฤติกรรม
“ ปั้นน้ำเป็นตัว ”
จะต้องแก้ด้วยการปฏิบัติตาม
กัลยาณธรรมข้อใด ?
ก.
ความปรารถนาดีต่อกัน
ข.
การเลี้ยงชีพในทางที่ชอบ
ค.
ความซื่อสัตย์ต่อกัน
ง.
ความมีสติรอบคอบ
๔๖.
สำนวนว่า
“ กำแพงมีหู ประตูมีช่อง ”
มุ่งเน้นสอนให้ปฏิบัติตามหลัก
กัลยาณธรรมอย่างไร ?
ก.
รู้จักระวังการกระทำ
ข.
รู้จักระวังคำพูด
ค.
รู้จักระวังความคิด
ง.
ถูกทุกข้อ
๔๗.
“ มีเพื่อนดีเพียงหนึ่งถึงจะน้อย ดีกว่าร้อยเพื่อนคิดริษยา ”
ตรงกับ
ความมีสัตย์ข้อใด ?
ก.
ความเที่ยงธรรม
ข.
ความซื่อตรง
ค.
ความสวามิภักดิ์
ง.
ความกตัญญู
๔๘.
มรรคมีองค์ ๘ ข้อใด จัดเข้าในกัลยาณธรรม ?
ก.
สัมมากัมมันตะ
ข.
สัมมาสังกัปปะ
ค.
สัมมาวายามะ
ง.
สัมมาอาชีวะ
๔๙.
ข้อใด กล่าวถูกต้องตามความหมาย ?
ก.
ผู้มีศีล ๕ ได้ชื่อว่ามีกัลยาณธรรม
ข.
เบญจศีล มีวิรัติเป็นเครื่องคู่กัน
ค.
กัลยาณธรรม คือการละเว้นข้อห้าม
ง.
วิรัติ คือเจตนางดเว้นจากความชั่ว
๕๐.
ผู้ทรงศีลไม่ฆ่าสัตว์ แต่ปราศจากกรุณา ได้ชื่อว่าเป็นคนเช่นไร ?
ก.
คนลวงโลก
ข.
มีศีล แต่ขาดคุณธรรม
ค.
คนไม่มีศีลธรรม
ง.
ถูกทุกข้อ
เอกสารอ้างอิง
เรื่องสอบธรรม ของสนามหลวงแผนกธรรม พ.ศ.๒๕๔๖. หน้า ๑๓๙-๑๔๙.
ข้อสอบสนามหลวง
พ.ศ. ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๑
พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๖๕
พ.ศ. ๒๕๖๖
พ.ศ. ๒๕๖๗
พ.ศ. ๒๕๖๘
พ.ศ. ๒๕๖๙
พ.ศ. ๒๕๗๐
พ.ศ. ๒๕๗๑
พ.ศ. ๒๕๗๒
พ.ศ. ๒๕๗๓
พ.ศ. ๒๕๗๔
พ.ศ. ๒๕๗๕
พ.ศ. ๒๕๗๖
พ.ศ. ๒๕๗๗
พ.ศ. ๒๕๗๘
พ.ศ. ๒๕๗๙
พ.ศ. ๒๕๘๐
พ.ศ. ๒๕๘๑
พ.ศ. ๒๕๘๒
พ.ศ. ๒๕๘๓
พ.ศ. ๒๕๘๔
พ.ศ. ๒๕๘๕
พ.ศ. ๒๕๘๖
พ.ศ. ๒๕๘๗
พ.ศ. ๒๕๘๘
พ.ศ. ๒๕๘๙
พ.ศ. ๒๕๙๐
พ.ศ. ๒๕๙๑
พ.ศ. ๒๕๙๒
พ.ศ. ๒๕๙๓
พ.ศ. ๒๕๙๔
พ.ศ. ๒๕๙๕
พ.ศ. ๒๕๙๖
พ.ศ. ๒๕๙๗
พ.ศ. ๒๕๙๘
พ.ศ. ๒๕๙๙
พ.ศ. ๒๖๐๐