ปัญหาและเฉลย
วิชาเบญจศีล เบญจธรรม (วินัย) ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันอังคาร ที่ ๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
เวลา ๑๕.๐๐ - ๑๕.๕๐ น.
คำสั่ง :
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วฝนลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑.
คุณธรรมใดทำให้กายวาจาเป็นปกติเรียบร้อย ?
ก.
ทาน
ข.
ศีล
ค.
สมาธิ
ง.
ปัญญา
๒.
ศีล แปลว่าอะไร ?
ก.
แบ่งปัน
ข.
ปกติ
ค.
ตั้งใจ
ง.
รอบรู้
๓.
คนที่มุ่งร้ายทำลายชีวิตผู้อื่น เพราะขาดศีลข้อใด ?
ก.
ข้อ ที่ ๑
ข.
ข้อ ที่ ๒
ค.
ข้อ ที่ ๓
ง.
ข้อ ที่ ๔
๔.
ศีลประเภทใด เป็นพื้นฐานสร้างความปรองดองสมานฉันท์ ?
ก.
ศีล ๕
ข.
ศีล ๘
ค.
ศีล ๑๐
ง.
ศีล ๒๒๗
๕.
ข้อใด มิใช่วัตถุประสงค์ของโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ?
ก.
ปรองดอง
ข.
สามัคคี
ค.
สันติสุข
ง.
แตกแยก
๖.
ธรรมใด เป็นเหตุให้ศีลมั่นคง ?
ก.
สติสัมปชัญญะ
ข.
หิริ โอตตัปปะ
ค.
ขันติ โสรัจจะ
ง.
กตัญญูกตเวที
๗.
ศีลข้อ ที่ ๑ ส่งเสริมให้บุคคลมีคุณธรรมใด ?
ก.
เมตตากรุณา
ข.
สัมมาอาชีวะ
ค.
สัจจะ
ง.
สติ
๘.
การทำชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป ตรงกับข้อใด ?
ก.
ให้ตาย
ข.
ให้ลำบาก
ค.
ให้เจ็บ
ง.
ให้พิการ
๙.
การทำร้ายผู้อื่นให้สูญเสียสิ่งใด จัดเป็นอนุโลมปาณาติบาต ?
ก.
เสียโฉม
ข.
เสียทรัพย์
ค.
เสียสัตย์
ง.
เสียสติ
๑๐.
ศีลข้อ ที่ ๑ ห้ามกระทำในเรื่องใด ?
ก.
ฆ่าสัตว์
ข.
ลักทรัพย์
ค.
คบชู้
ง.
โกหก
๑๑.
นำสัตว์มาเลี้ยงแล้วปล่อยให้อดอยาก จัดเป็นทรกรรมใด ?
ก.
ใช้การ
ข.
กักขัง
ค.
เล่นสนุก
ง.
ผจญสัตว์
๑๒.
ศีลข้อใด ส่งเสริมให้คนประกอบอาชีพสุจริต ?
ก.
ข้อ ที่ ๑
ข.
ข้อ ที่ ๒
ค.
ข้อ ที่ ๓
ง.
ข้อ ที่ ๔
๑๓.
การถือเอาทรัพย์ในเวลาที่เจ้าของเผลอ จัดเป็นโจรกรรมใด ?
ก.
ลัก
ข.
ฉก
ค.
ฉ้อ
ง.
ตู่
๑๔.
การกระทำใด ผิดศีลข้อที่ ๒ ?
ก.
ฆ่าสัตว์
ข.
ลักทรัพย์
ค.
โกหก
ง.
ดื่มสุรา
๑๕.
ศีลข้อ ที่ ๒ ป้องกันปัญหาสังคมในเรื่องใด ?
ก.
ทำร้ายกัน
ข.
คดโกง
ค.
มั่วทางเพศ
ง.
ทะเลาะวิวาท
๑๖.
การพูดปดเพื่อเอาทรัพย์คนอื่น จัดเป็นโจรกรรมใด ?
ก.
ตู่
ข.
ฉ้อ
ค.
หลอก
ง.
ลวง
๑๗.
การลอบทำลายทรัพย์สินผู้อื่น ตรงกับข้อใด ?
ก.
ปล้น
ข.
สมโจร
ค.
ปอกลอก
ง.
ผลาญ
๑๘.
การถือเอาทรัพย์ผู้อื่นโดยอาการเป็นโจร ตรงกับข้อใด ?
ก.
กรรโชก
ข.
ผลาญ
ค.
รับสินบน
ง.
หยิบฉวย
๑๙.
ความพยายามใด จัดเป็นองค์แห่งศีลข้อที่ ๒ ?
ก.
ฆ่า
ข.
ลัก
ค.
เสพ
ง.
พูด
๒๐.
ศีลข้อที่ ๒ ให้ผลดีแก่ผู้รักษาอย่างไร ?
ก.
อายุยืน
ข.
ไม่ขัดสน
ค.
ไว้ใจกัน
ง.
น่าเชื่อถือ
๒๑.
ศีลข้อที่ ๒ ให้งดเว้นการเบียดเบียนกันในเรื่องใด ?
ก.
ชีวิต
ข.
ทรัพย์สิน
ค.
คู่ครอง
ง.
คำพูด
๒๒.
การใช้อำนาจหน้าที่ถือเอาทรัพย์โดยทุจริต เป็นโจรกรรมใด ?
ก.
เบียดบัง
ข.
สับเปลี่ยน
ค.
ลักลอบ
ง.
ยักยอก
๒๓.
ศีลข้อใด ส่งเสริมให้คู่ครองไว้วางใจกัน ?
ก.
ข้อที่ ๒
ข.
ข้อที่ ๓
ค.
ข้อที่ ๔
ง.
ข้อที่ ๕
๒๔.
การล่วงละเมิดศีลข้อที่ ๓ เกิดขึ้นในทางใด ?
ก.
ทางกาย
ข.
ทางวาจา
ค.
ทางใจ
ง.
ถูกทุกข้อ
๒๕.
สุภาษิตข้อใด ส่งเสริมไม่ให้ประพฤติผิดศีลข้อที่ ๓ ?
ก.
รักนวลสงวนตัว
ข.
รักดีหามจั่ว
ค.
รักชั่วหามเสา
ง.
รักยาวให้บั่น
๒๖.
ศีลข้อที่ ๓ สร้า้งความมั่นคงแก่ครอบครัวในด้านใด ?
ก.
อาชีพ
ข.
ชีวิตคู่
ค.
การงาน
ง.
การศึกษา
๒๗.
ศีลข้อที่ ๓ ช่วยลดปัญหาการล่วงละเมิดในเรื่องใด ?
ก.
ชีวิต
ข.
ทรัพย์สิน
ค.
เพศ
ง.
คำพูด
๒๘.
ศีลข้อที่ ๓ ช่วยลดปัญหาสังคมในเรื่องใด ?
ก.
ตบตีกัน
ข.
ลักขโมย
ค.
หย่าร้าง
ง.
ทะเลาะกัน
๒๙.
ศีลข้อว่า มุสาวาทา เวรมณี ให้งดเว้นเรื่องใด ?
ก.
ฆ่าสัตว์
ข.
ลักทรัพย์
ค.
พูดเท็จ
ง.
ดื่มสุรา
๓๐.
พูดยุยงให้แตกกัน เรียกว่าอะไร ?
ก.
ส่อเสียด
ข.
หลอก
ค.
กลับคำ
ง.
ยอ
๓๑.
การพูดให้เข้า้ใจผิด เช่น เห็นบอกว่าไม่เห็น เรียกว่าอะไร ?
ก.
ปด
ข.
ทนสาบาน
ค.
มารยา
ง.
ทำเลศ
๓๒.
การพูดโกหกด้วยความคะนองปาก ตรงกับอนุโลมมุสาข้อใด ?
ก.
มารยา
ข.
ทำเลศ
ค.
เสียดแทง
ง.
สับปลับ
๓๓.
การพูดเช่นใด จัดเป็นอนุโลมมุสา ?
ก.
ให้เ้ข้าใจผิด
ข.
เล่นสำนวน
ค.
โกหกซึ่งหน้า
ง.
ให้เจ็บใจ
๓๔.
ข้อใด ไม่จัดเป็นปฏิสสวะ ?
ก.
อำความ
ข.
ผิดสัญญา
ค.
เสียสัตย์
ง.
คืนคำ
๓๕.
คำพูดว่า ท่านประธานที่เคารพ แต่หาเคารพไม่ ตรงกับข้อใด ?
ก.
สำคัญผิด
ข.
พลั้ง
ค.
โวหาร
ง.
นิยาย
๓๖.
มุสาวาทที่แสดงออกทางวาจา มีลักษณะตรงกับข้อใด ?
ก.
ให้ฆ่่าสัตว์
ข.
ให้ลักทรัพย์
ค.
ให้การเท็จ
ง.
ให้ดื่มสุรา
๓๗.
ศีลข้อที่ ๕ บัญญัติขึ้นเพื่อให้งดเว้นเรื่องใด ?
ก.
ฆ่าสัตว์
ข.
ลักทรัพย์
ค.
พูดเท็จ
ง.
ดื่มสุรา
๓๘.
ข้อใด เป็นประโยชน์ของการไม่ดื่มน้ำเมา ?
ก.
ไม่โหดร้าย
ข.
ไม่มือไว
ค.
ไม่มักมาก
ง.
ไม่เกิดโรค
๓๙.
กิริยาใด ไม่เป็นประโยชน์ต่อการเลิกดื่มสุรา ?
ก.
การลด
ข.
การละ
ค.
การเลิก
ง.
การลวง
๔๐.
สัมปัตตวิรัติ มีลักษณะงดเว้นอย่างไร ?
ก.
เฉพาะหน้า
ข.
เฉพาะข้อ
ค.
เด็ดขาด
ง.
ชั่วคราว
๔๑.
ธรรมอันเป็นเครื่องอุดหนุนศีลให้มั่นคง ตรงกับข้อใด ?
ก.
เบญจศีล
ข.
เบญจธรรม
ค.
เบญจพล
ง.
เบญจขันธ์
๔๒.
คิดช่วยให้ผู้อื่นพ้นทุกข์ เพราะมีกัลยาณธรรมใด ?
ก.
เมตตา
ข.
กรุณา
ค.
มุทิตา
ง.
อุเบกขา
๔๓.
กัลยาณธรรมใด สนับสนุนศีลข้อที่ ๒ ให้มั่นคง ?
ก.
เมตตา กรุณา
ข.
สัมมาอาชีวะ
ค.
กามสังวร
ง.
ความมีสัตย์
๔๔.
ข้อใด ไม่จัดเป็นสัมมาอาชีวะ ?
ก.
ขายกัญชา
ข.
ขายกาแฟ
ค.
ขายน้ำดื่ม
ง.
ขายข้าวต้ม
๔๕.
กัลยาณธรรมใด ช่วยระมัดระวังไม่ให้ประพฤติผิดในกาม ?
ก.
เมตตา กรุณา
ข.
สัมมาอาชีวะ
ค.
กามสังวร
ง.
ความมีสัตย์
๔๖.
ปติวัตร เป็นคุณธรรมที่ภรรยาพึงปฏิบัติต่อใคร ?
ก.
คู่นอน
ข.
คู่คิด
ค.
คู่ครอง
ง.
คู่ใจ
๔๗.
ความประพฤติตนเป็นคนตรง เป็นกัลยาณธรรมข้อใด ?
ก.
เมตตา
ข.
สัมมาอาชีวะ
ค.
กามสังวร
ง.
ความมีสัตย์
๔๘.
รู้อุปการะที่ท่านทำแล้ว จัดเป็นความมีสัตย์ในข้อใด ?
ก.
เที่ยงธรรม
ข.
ซื่อตรง
ค.
สวามิภักดิ์
ง.
กตัญญู
๔๙.
กัลยาธรรมใด ช่วยลดปัญหาอุบัติเหตุบนท้องถนน ?
ก.
เมตตา กรุณา
ข.
สัมมาอาชีวะ
ค.
กามสังวร
ง.
สติรอบคอบ
๕๐.
บุคคลผู้ตั้งมั่นอยู่ในศีล ย่อมได้รับอานิสงส์เช่นใด ?
ก.
โภคสมบัติ
ข.
สวรรค์สมบัติ
ค.
นิพพานสมบัติ
ง.
ถูกทุกข้อ
เอกสารอ้างอิง
เรื่องสอบธรรม ของสนามหลวงแผนกธรรม พ.ศ.๒๕๕๘. หน้า
สำเนาข้อสอบจริง ปี ๒๕๕๘.
ข้อสอบสนามหลวง
พ.ศ. ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๑
พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๖๕
พ.ศ. ๒๕๖๖
พ.ศ. ๒๕๖๗
พ.ศ. ๒๕๖๘
พ.ศ. ๒๕๖๙
พ.ศ. ๒๕๗๐
พ.ศ. ๒๕๗๑
พ.ศ. ๒๕๗๒
พ.ศ. ๒๕๗๓
พ.ศ. ๒๕๗๔
พ.ศ. ๒๕๗๕
พ.ศ. ๒๕๗๖
พ.ศ. ๒๕๗๗
พ.ศ. ๒๕๗๘
พ.ศ. ๒๕๗๙
พ.ศ. ๒๕๘๐
พ.ศ. ๒๕๘๑
พ.ศ. ๒๕๘๒
พ.ศ. ๒๕๘๓
พ.ศ. ๒๕๘๔
พ.ศ. ๒๕๘๕
พ.ศ. ๒๕๘๖
พ.ศ. ๒๕๘๗
พ.ศ. ๒๕๘๘
พ.ศ. ๒๕๘๙
พ.ศ. ๒๕๙๐
พ.ศ. ๒๕๙๑
พ.ศ. ๒๕๙๒
พ.ศ. ๒๕๙๓
พ.ศ. ๒๕๙๔
พ.ศ. ๒๕๙๕
พ.ศ. ๒๕๙๖
พ.ศ. ๒๕๙๗
พ.ศ. ๒๕๙๘
พ.ศ. ๒๕๙๙
พ.ศ. ๒๖๐๐