ปัญหาและเฉลย
วิชาเบญจศีล เบญจธรรม (วินัย) ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันอังคาร ที่ ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๖
เวลา ๑๕.๐๐ - ๑๕.๕๐ น.
คำสั่ง :
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว ในช่องที่ต้องการ
ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑.
พื้นฐานของศีลคืออะไร ?
ก.
สติ-สัมปชัญญะ
ข.
หิริ-โอตตัปปะ
ค.
ขันติ-โสรัจจะ
ง.
เจตนา
๒.
เครื่องป้องกันไม่ให้ทำชั่วทางกาย วาจา เรียกว่าอะไร ?
ก.
ทาน
ข.
ศีล
ค.
สมาธิ
ง.
ปัญญา
๓.
วัตถุประสงค์ของการบัญญัติศีล คืออะไร ?
ก.
ทำใจให้สงบ
ข.
ละกิเลส
ค.
ฝึกกายวาจา
ง.
ดับทุกข์
๔.
บุคคลควรมีสิ่งใด เป็นพื้นฐานในการดำเนินชีวิต ?
ก.
ทาน
ข.
ศีล
ค.
สมาธิ
ง.
ภาวนา
๕.
หลักปฏิบัติเบื้องต้นแห่งการทำความดี ได้แก่ข้อใด ?
ก.
รักษาศีล
ข.
เจริญสมาธิ
ค.
อบรมปัญญา
ง.
เจริญภาวนา
๖.
การงดเว้นสิ่งใด จัดเป็นการรักษาศีล ?
ก.
ข้อห้าม
ข.
กฎเกณฑ์
ค.
ระเบียบ
ง.
ข้อบังคับ
๗.
ศีลข้อ ๑ บัญญัติขึ้นเพื่อส่งเสริมบุคคลให้มีคุณธรรมใด ?
ก.
เมตตา-กรุณา
ข.
สัมมาอาชีวะ
ค.
สัจจะ
ง.
สติ
๘.
ข้อใด เป็นการประพฤติผิดศีลข้อที่ ๑ ?
ก.
ทำแท้ง
ข.
ลักทรัพย์
ค.
เสพยาบ้า
ง.
พูดโกหก
๙.
คำว่า ทำชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป หมายถึงทำให้เป็นอย่างไร ?
ก.
บาดเจ็บ
ข.
พิการ
ค.
ลำบาก
ง.
ตาย
๑๐.
รับฝากสิ่งของแล้วไม่ยอมคืน เป็นโจรกรรมประเภทใด ?
ก.
ลักลอบ
ข.
เบียดบัง
ค.
ยักยอก
ง.
ฉ้อโกง
๑๑.
การสลับของดีไว้กับตน ให้ของไม่ดีแก่คนอื่น เรียกว่าอะไร ?
ก.
กรรโชก
ข.
สับเปลี่ยน
ค.
เบียดบัง
ง.
ตระบัด
๑๒.
การขายสิ่งของไม่แท้ว่าเป็นของแท้ เป็นโจรกรรมประเภทใด ?
ก.
ปลอม
ข.
ลวง
ค.
หลอก
ง.
ตู่
๑๓.
คดในข้อ งอในกระดูก มีความหมายตรงกับศีลข้อใด ?
ก.
ข้อ ๑
ข.
ข้อ ๒
ค.
ข้อ ๓
ง.
ข้อ ๔
๑๔.
การประพฤติผิดประเวณี ถือว่าล่วงละเมิดศีลข้อใด ?
ก.
ข้อ ๑
ข.
ข้อ ๒
ค.
ข้อ ๓
ง.
ข้อ ๔
๑๕.
สทารสันโดษ เป็นคุณธรรมประดับใคร ?
ก.
สามี
ข.
ภรรยา
ค.
ย่า
ง.
ยาย
๑๖.
ภรรยาที่ซื่อสัตย์ต่อสามี เรียกว่ามีคุณธรรมใด ?
ก.
สทารสันโดษ
ข.
ปติวัตร
ค.
ค.คิหิปฏิบัติ
ง.
วัตรปฏิบัติ
๑๗.
มุสาวาท เกิดขึ้นได้ทางใดบ้าง ?
ก.
กายกับวาจา
ข.
กายกับใจ
ค.
วาจากับใจ
ง.
กายวาจาใจ
๑๘.
รู้แต่สั่นศีรษะว่าไม่รู้ เป็นความเท็จเกิดขึ้นทางใด ?
ก.
กาย
ข.
วาจา
ค.
ใจ
ง.
ถูกทุกข้อ
๑๙.
คำพูดเช่นใด ทำให้แตกความสามัคคี ?
ก.
ส่อเสียด
ข.
หลอก
ค.
สับปลับ
ง.
กลับคำ
๒๐.
มุสาวาทประเภทเสริมความ ตรงกับข้อใด ?
ก.
พูดให้แตกกัน
ข.
พูดกลับคำ
ค.
พูดเกินจริง
ง.
พูดเล่นสำนวน
๒๑.
ผู้มีปกติไม่พูดมุสา ย่อมได้รับผลเช่นใด ?
ก.
น่าเชื่อถือ
ข.
อายุยืน
ค.
สุขภาพดี
ง.
ไม่หลงลืม
๒๒.
ศีลข้อ ๕ สอนให้งดเว้นเรื่องใด ?
ก.
ฆ่าสัตว์
ข.
ลักทรัพย์
ค.
พูดเท็จ
ง.
ยาเสพติด
๒๓.
ข้อใด เป็นโทษเกิดจากการดื่มสุราเมรัย ?
ก.
อายุสั้น
ข.
ยากจน
ค.
เสียสัตย์
ง.
เสียสติ
๒๔.
กิริยางดเว้นจากข้อห้าม เรียกว่าอะไร ?
ก.
วิรัติ
ข.
ข.สัมปัตตวิรัติ
ค.
สมาทานวิรัติ
ง.
สมุจเฉทวิรัติ
๒๕.
สมุจเฉทวิรัติ เกิดขึ้นแก่บุคคลใด ?
ก.
สามัญชน
ข.
ปุถุชน
ค.
อริยบุคคล
ง.
กัลยาณชน
๒๖.
การรับศีลจากพระสงฆ์ จัดเป็นวิรัติใด ?
ก.
สมาทานวิรัติ
ข.
สัมปัตตวิรัติ
ค.
สมุจเฉทวิรัติ
ง.
ถูกทุกข้อ
๒๗.
ศีลข้อไม่ลักทรัพย์ คู่กับกัลยาณธรรมใด ?
ก.
ความสัตย์
ข.
เมตตา
ค.
อาชีพสุจริต
ง.
สติรอบคอบ
๒๘.
การช่วยเหลือคนบาดเจ็บ จัดเป็นกัลยาณธรรมใด ?
ก.
เมตตา
ข.
กรุณา
ค.
สัมมาชีพ
ง.
สติรอบคอบ
๒๙.
ไม่ฆ่าสัตว์ แต่ปราศจากกรุณา ตรงกับข้อใด ?
ก.
มีศีลธรรม
ข.
มีศีลขาดธรรม
ค.
ขาดศีลมีธรรม
ง.
ไม่มีศีลธรรม
๓๐.
กัลยาณธรรมข้อ ๑ สนับสนุนการแก้ปัญหาสังคมด้านใด ?
ก.
อาชญากรรม
ข.
โจรกรรม
ค.
ทุจริตคอรัปชั่น
ง.
ยาเสพติด
๓๑.
โครงการพระราชดำริเรื่องใด สนับสนุนศีลข้อ ๒ ?
ก.
ฝายแม้ว
ข.
แก้มลิง
ค.
แกล้งดิน
ง.
เศรษฐกิจพอเพียง
๓๒.
การแสวงหาทรัพย์โดยสุจริต จัดเป็นกัลยาณธรรมใด ?
ก.
สัมมาอาชีวะ
ข.
ความมีสัตย์
ค.
ความมีสติ
ง.
ความมีเมตตา
๓๓.
ลูกจ้างตรงต่อเวลา ชื่อว่าประพฤติเป็นธรรมในข้อใด ?
ก.
กิจการ
ข.
บุคคล
ค.
วัตถุ
ง.
ถูกทุกข้อ
๓๔.
ผู้ลักลอบปลอมแปลงสินค้า ชื่อว่าประพฤติไม่เป็นธรรมในข้อใด ?
ก.
กิจการ
ข.
บุคคล
ค.
วัตถุ
ง.
อาชีพ
๓๕.
คุณธรรมที่ส่งเสริมศีลข้อ ๓ ให้มั่น คงยิ่งขึ้น ตรงกับข้อใด ?
ก.
สติ
ข.
ซื่อตรง
ค.
ภักดี
ง.
สำรวมในกาม
๓๖.
สามีภรรยาจะซื่อสัตย์ต่อกัน ต้องปฏิบัติตามกัลยาณธรรมข้อใด ?
ก.
เมตตากรุณา
ข.
อาชีพสุจริต
ค.
สำรวมในกาม
ง.
กตัญญู
๓๗.
ผู้ประพฤติตามกัลยาณธรรมข้อ ๓ ย่อมได้รับผลเช่นใด ?
ก.
มีเมตตา
ข.
ไว้วางใจกัน
ค.
มีความกตัญญู
ง.
มีความภักดี
๓๘.
กัลยาณธรรมข้อ ๓ เป็นหลักปฏิบัติระหว่างใคร ?
ก.
ลูก-พ่อแม่
ข.
ศิษย์-อาจารย์
ค.
สามี-ภรรยา
ง.
พี่-น้อง
๓๙.
การเคารพเชื่อฟังพ่อแม่ จัดเข้าในความมีสัตย์ข้อใด ?
ก.
สวามิภักดิ์
ข.
ซื่อตรง
ค.
เที่ยงธรรม
ง.
กตัญญู
๔๐.
ความเที่ยงธรรมในกัลยาณธรรมข้อ ๔ ตรงกับข้อใด ?
ก.
ตรงต่อหน้าที่
ข.
ตรงต่อมิตร
ค.
ภักดีต่อนาย
ง.
รู้คุณท่าน
๔๑.
ความสวามิภักดิ์ในกัลยาณธรรมข้อ ๔ ตรงกับข้อใด ?
ก.
ไม่ฆ่าน้อง
ข.
ไม่ฟ้องนาย
ค.
ไม่ขายเพื่อน
ง.
ไม่ทรยศนาย
๔๒.
การประพฤติซื่อตรงต่อมิตร ตรงกับข้อใด ?
ก.
แนะนำให้ทำดี
ข.
ให้ความยุติธรรม
ค.
ไม่ลบหลู่
ง.
ไม่ให้ทำชั่ว
๔๓.
ความมีสติในการใช้จ่าย จัดเข้าในข้อใด ?
ก.
การบริโภค
ข.
การวางตัว
ค.
การทำงาน
ง.
ไม่ประมาทในธรรม
๔๔.
ความมีสติรอบคอบ สนับสนุนศีลข้อใด ?
ก.
ข้อ ๑
ข.
ข้อ ๒
ค.
ข้อ ๔
ง.
ข้อ ๕
๔๕.
การประพฤติเป็นธรรมในกิจการ หมายถึงข้อใด ?
ก.
ทำงานเต็มเวลา
ข.
บริการลูกค้า
ค.
ขายตามราคา
ง.
ขายถูก
๔๖.
ผู้ประมาทเลินเล่อในการทำงาน มีลักษณะเช่นใด ?
ก.
ขวนขวาย
ข.
ทอดธุระ
ค.
รับผิดชอบ
ง.
ตรงเวลา
๔๗.
กัลยาณธรรมข้อใด ส่งเสริมให้คนไม่ดื่มสุรา ?
ก.
เมตตากรุณา
ข.
สัมมาอาชีวะ
ค.
สติรอบคอบ
ง.
ความมีสัตย์
๔๘.
การบำเพ็ญสมถวิปัสสนา ชื่อว่ามีสติในเรื่องใด ?
ก.
การบริโภค
ข.
การวางตน
ค.
การทำงาน
ง.
การประพฤติธรรม
๔๙.
คำว่า สีเลน โภคสมฺปทา มีความหมายตรงกับข้อใด ?
ก.
ศีลทำให้สวย
ข.
ศีลทำให้รวย
ค.
ศีลทำให้สูงส่ง
ง.
ศีลทำให้สงบ
๕๐.
บุคคลจะเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ต้องประกอบด้วยอะไร ?
ก.
ศีลธรรม
ข.
ทรัพย์สมบัติ
ค.
พวกพ้อง
ง.
หน้าที่การงาน
เอกสารอ้างอิง
เรื่องสอบธรรม ของสนามหลวงแผนกธรรม พ.ศ.๒๕๕๖. หน้า ๑๙๘-๒๐๘.
ข้อสอบจริง สอบวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ เวลา ๑๕.๐๐ - ๑๕.๕๐ น.
ข้อสอบสนามหลวง
พ.ศ. ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๑
พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๖๕
พ.ศ. ๒๕๖๖
พ.ศ. ๒๕๖๗
พ.ศ. ๒๕๖๘
พ.ศ. ๒๕๖๙
พ.ศ. ๒๕๗๐
พ.ศ. ๒๕๗๑
พ.ศ. ๒๕๗๒
พ.ศ. ๒๕๗๓
พ.ศ. ๒๕๗๔
พ.ศ. ๒๕๗๕
พ.ศ. ๒๕๗๖
พ.ศ. ๒๕๗๗
พ.ศ. ๒๕๗๘
พ.ศ. ๒๕๗๙
พ.ศ. ๒๕๘๐
พ.ศ. ๒๕๘๑
พ.ศ. ๒๕๘๒
พ.ศ. ๒๕๘๓
พ.ศ. ๒๕๘๔
พ.ศ. ๒๕๘๕
พ.ศ. ๒๕๘๖
พ.ศ. ๒๕๘๗
พ.ศ. ๒๕๘๘
พ.ศ. ๒๕๘๙
พ.ศ. ๒๕๙๐
พ.ศ. ๒๕๙๑
พ.ศ. ๒๕๙๒
พ.ศ. ๒๕๙๓
พ.ศ. ๒๕๙๔
พ.ศ. ๒๕๙๕
พ.ศ. ๒๕๙๖
พ.ศ. ๒๕๙๗
พ.ศ. ๒๕๙๘
พ.ศ. ๒๕๙๙
พ.ศ. ๒๖๐๐