ปัญหาและเฉลย
วิชาเบญจศีล เบญจธรรม (วินัย) ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันศุกร์ ที่ ๑๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
เวลา ๑๕.๐๐ - ๑๕.๕๐ น.
คำสั่ง :
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วฝนลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑.
ทำสัตว์มีชีวิตให้ตกล่วง มีความหมายตรงกับข้อใด ?
ก.
ตาย
ข.
บาดเจ็บ
ค.
พิการ
ง.
สลบ
๒.
ข้อใด แสดงออกถึงการขาดเมตตาจิต ?
ก.
เลี้ยงม้า
ข.
เลี้ยงแมว
ค.
เลี้ยงนก
ง.
ตกปลา
๓.
แข่งขันกัดสุนัข เป็นการทรมานสัตว์ลักษณะใด ?
ก.
เล่นสนุก
ข.
ผจญสัตว์
ค.
ใช้การ
ง.
นำไป
๔.
ใช้การ จัดเป็นทรกรรมอย่างหนึ่ง ตรงกับข้อใด ?
ก.
ใช้วัวเทียมเกวียน
ข.
ใช้ควายไถนา
ค.
ใช้ม้าเกินกำลัง
ง.
ใช้ช้างลากซุง
๕.
การรักษาศีลข้อปาณาติบาต ทำให้คนเราเกิดความคิดในเรื่องใด ?
ก.
รักหวงแหนชีวิต
ข.
ปล่อยชีวิตไปตามกรรม
ค.
เห็นแก่ตัวมากขึ้น
ง.
ช่วยเหลือคนอื่น
๖.
อทินนาทาน บัญญัติขึ้นเพื่อป้องกันการล่วงละเมิดในเรื่องใด ?
ก.
ชีวิต
ข.
ทรัพย์สิน
ค.
มุสาวาท
ง.
สุราเมรัย
๗.
วิ่งราวทรัพย์ผู้อื่น จัดเป็นโจรกรรมข้อใด ?
ก.
ลัก
ข.
ฉก
ค.
กรรโชก
ง.
ปล้น
๘.
กิริยาที่ถือเอาทรัพย์เพื่อช่วยทำธุระในทางที่ผิด เรียกว่าอะไร ?
ก.
สมโจร
ข.
ปอกลอก
ค.
รับสินบน
ง.
หยิบฉวย
๙.
ข้อใด ไม่ใช่จุดมุ่งหมายของการบัญญัติศีลข้อที่ ๓ ?
ก.
ป้องกันการแตกร้าว
ข.
ป้องกันล่วงละเมิดประเวณี
ค.
ป้องกันกามโรค
ง.
ป้องกันการทำร้าย
๑๐.
หญิงผู้เป็นเหล่ากอของตัวในสิกขาบทที่ ๓ หมายถึงข้อใด ?
ก.
ลูกเลี้ยง
ข.
ลูกบุญธรรม
ค.
ลูกสาว
ง.
ลูกสะใภ้
๑๑.
การล่วงละเมิดศีลข้อที่ ๓ เป็นเหตุให้เกิดโรคใด ?
ก.
กามโรค
ข.
ไข้หวัดนก
ค.
มะเร็ง
ง.
ปอดบวม
๑๒.
การอวดอ้างว่า คงกระพัน ยิงฟันไม่เข้า จัดเป็นมุสาวาทประเภทใด ?
ก.
ทำเล่ห์
ข.
มารยา
ค.
อำความ
ง.
เสริมความ
๑๓.
การกล่าวเกินความเป็นจริง เป็นมุสาวาทประเภทใด ?
ก.
มารยา
ข.
อำความ
ค.
เสริมความ
ง.
ทำเลส
๑๔.
ข้อใด ไม่ใช่ความหมายของมุสาวาท ?
ก.
พูดไม่ตรงความจริง
ข.
ทำไม่ตรงความจริง
ค.
คิดไม่ตรงความจริง
ง.
แสดงออกไม่ตรงความจริง
๑๕.
ข้อใด เป็นมุสาวาททางกาย ?
ก.
เขียนหนังสือเท็จ
ข.
ให้การเท็จ
ค.
จงใจกล่าวเท็จ
ง.
พูดคำเท็จ
๑๖.
พูดยุยงเพื่อให้เขาแตกกัน เรียกว่าอะไร ?
ก.
กลับคำ
ข.
ยกย่อง
ค.
ส่อเสียด
ง.
หลอก
๑๗.
คำพูดประเภทใด ไม่มีโทษแก่ผู้พูด ?
ก.
โวหาร
ข.
ผิดสัญญา
ค.
เสียสัตย์
ง.
คืนคำ
๑๘.
ข้อใด เป็นความประพฤติเสียหายเพราะดื่มน้ำเมา ?
ก.
ทำลายข้าวของ
ข.
ทุบตีผู้อื่น
ค.
ทะเลาะวิวาท
ง.
ถูกทุกข้อ
๑๙.
ข้อใด อนุโลมเป็นของมึนเมาในสิกขาบทที่ ๕ ?
ก.
น้ำส้ม
ข.
น้ำชา
ค.
กาแฟ
ง.
กัญชา
๒๐.
การดื่มน้ำเมา เป็นเหตุให้เกิดอาการเช่นใด ?
ก.
มึนงง
ข.
อาเจียน
ค.
หลับไม่สนิท
ง.
ถูกทุกข้อ
๒๑.
ข้อใด ไม่จัดเข้าในโทษของการดื่มน้ำเมา ๖ อย่าง ?
ก.
เสียเงินทอง
ข.
เสียชื่อเสียง
ค.
เสียคำสัตย์
ง.
เสียสุขภาพ
๒๒.
บุคคลผู้งดเว้นจากข้อห้ามในสิกขาบททั้ง ๕ เรียกว่าอะไร ?
ก.
ผู้มีศีล
ข.
ผู้มีธรรม
ค.
ผู้มีบุญ
ง.
ผู้มีคุณ
๒๓.
พระอริยะไม่ประพฤติล่วงศีล ๕ อย่างเด็ดขาด จัดเป็นวิรัติใด ?
ก.
สัมปัตตวิรัติ
ข.
สมาทานวิรัติ
ค.
สมุจเฉทวิรัติ
ง.
ถูกทุกข้อ
๒๔.
การไม่ทำร้ายศัตรูขณะที่มีโอกาส จัดเป็นวิรัติข้อใด ?
ก.
สัมปัตตวิรัติ
ข.
สมาทานวิรัติ
ค.
สมุจเฉทวิรัติ
ง.
ถูกทุกข้อ
๒๕.
ผู้ชื่อว่ากัลยาณชน เพราะมีคุณธรรมใด ?
ก.
เบญจศีล
ข.
เบญจธรรม
ค.
มนุษยธรรม
ง.
ถูกทุกข้อ
๒๖.
กัลยาณธรรม แปลว่าอะไร ?
ก.
ธรรมอันงาม
ข.
ธรรมคุ้มครองโลก
ค.
ธรรมอันทำให้งาม
ง.
ธรรมมีอุปการะมาก
๒๗.
ข้อปฏิบัติที่ยิ่งกว่าศีล เรียกว่าอะไร ?
ก.
กัลยาณมิตร
ข.
กัลยาณธรรม
ค.
กัลยาณชน
ง.
กัลยาณจิต
๒๘.
กัลยาณธรรมข้อที่ ๑ เป็นเหตุให้มนุษย์มีพฤติกรรมเช่นใด ?
ก.
ช่วยเหลือกัน
ข.
รักษาศีลได้มั่นคง
ค.
ซื่อตรงต่อกัน
ง.
มีสติรอบคอบ
๒๙.
กัลยาณธรรมข้อใด เป็นเหตุให้มนุษย์ละความเบียดเบียนกัน ?
ก.
เมตตากรุณา
ข.
สัมมาอาชีวะ
ค.
วาจาสัตย์
ง.
สติรอบคอบ
๓๐.
บริจาคทรัพย์ช่วยสุนัขที่ถูกนำไปฆ่า จัดว่ามีกัลยาณธรรมข้อใด ?
ก.
เมตตา
ข.
กรุณา
ค.
มุทิตา
ง.
อุเบกขา
๓๑.
ข้อใด เป็นการแสดงถึงความมีกรุณาต่อผู้อื่น ?
ก.
ปรารถนาให้ผู้อื่นเป็นสุข
ข.
ช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำท่วม
ค.
ดีใจเมื่อเห็นผู้อื่นได้ดี
ง.
เฉย ๆ เมื่อเห็นผู้อื่นได้ดี
๓๒.
สัมมาอาชีวะ แปลว่าอะไร ?
ก.
เลี้ยงชีพชอบ
ข.
ตั้งใจชอบ
ค.
เจรจาชอบ
ง.
ดำริชอบ
๓๓.
นายจ้างให้ค่าจ้างแรงงานตามสัญญา ชื่อว่าประพฤติเป็นธรรมในอะไร ?
ก.
กิจการ
ข.
บุคคล
ค.
วัตถุ
ง.
ถูกทุกข้อ
๓๔.
ข้อใด ชื่อว่าประพฤติไม่เป็นธรรมในวัตถุ ?
ก.
ขายของปลอม
ข.
คืนของปลอม
ค.
ทิ้งของปลอม
ง.
ใช้ของปลอม
๓๕.
คนทำงานด้วยหยาดเหงื่อแรงงาน ควรปฏิบัติต่อทรัพย์ที่ได้มาอย่างไร ?
ก.
ใช้จ่ายอย่างสุรุ่ยสุร่าย
ข.
ใช้จ่ายอย่างฝืดเคือง
ค.
ใช้จ่ายอย่างฟุ่มเฟือย
ง.
ใช้จ่ายอย่างระมัดระวัง
๓๖.
ชายหญิงที่แต่งงานกัน ควรเว้นพฤติกรรมใด ?
ก.
ช่วยกันทำมาหากิน
ข.
พอใจในคู่ครองของตน
ค.
พอใจคู่ครองคนอื่น
ง.
เลี้ยงดูไม่ทิ้งกัน
๓๗.
รักนวลสงวนตัว มีความหมายตรงกับกัลยาณธรรมข้อใด ?
ก.
สัมมาอาชีวะ
ข.
สำรวมในกาม
ค.
ความมีสัตย์
ง.
มีสติรอบคอบ
๓๘.
ข้อใด เป็นโทษของการไม่สำรวมในกาม ?
ก.
เสียการงาน
ข.
เสียสติ
ค.
เสียวาจาสัตย์
ง.
เกิดโรคร้าย
๓๙.
คนไม่มีสทารสันโดษ มีมูลเหตุมาจากเรื่องใด ?
ก.
ทรัพย์สมบัติ
ข.
กามารมณ์
ค.
คำพูดเท็จ
ง.
เสียสติ
๔๐.
ปติวัตร เป็นคุณประดับสตรี ตรงกับข้อใด ?
ก.
แม่ชี
ข.
สามเณรี
ค.
ภิกษุณี
ง.
สตรีมีสามี
๔๑.
ชายหญิงผู้มักมากในกาม มีลักษณะเช่นใด ?
ก.
ไม่มีสง่าราศรี
ข.
ชีวิตมีมลทิน
ค.
ถูกติฉินนินทา
ง.
ถูกทุกข้อ
๔๒.
การจัดงานเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษามหาราช ชื่อว่ามีความสัตย์
ในข้อใด ?
ก.
เที่ยงธรรม
ข.
ซื่อตรง
ค.
สวามิภักดิ์
ง.
กตัญญู
๔๓.
พระสารีบุตรเถระ แสดงความกตัญญูต่อพระอัสสชิเถระ ได้ชื่อว่าประพฤติ
ิกัลยาณธรรมข้อใด ?
ก.
ความมีสัตย์
ข.
ความมีเมตตา
ค.
ความมีกรุณา
ง.
ความมีสติ
๔๔.
ผู้พิพากษาตัดสินคดีด้วยความยุติธรรม จัดเป็นความมีสัตย์ในเรื่องใด ?
ก.
เที่ยงธรรม
ข.
ซื่อตรง
ค.
สวามิภักดิ์
ง.
กตัญญู
๔๕.
ความเที่ยงธรรม เพิ่มคุณสมบัติให้แก่ศีลข้อใด ?
ก.
ปาณาติบาต
ข.
อทินนาทาน
ค.
มุสาวาท
ง.
สุราเมรัย
๔๖.
ข้อใด ชื่อว่าไม่รู้จักประมาณในการบริโภคอาหาร ?
ก.
พออิ่ม
ข.
พอดี
ค.
พอควร
ง.
พอใจ
๔๗.
คนไม่รู้จักประมาณในการบริโภคอาหาร เกิดผลเสียอย่างไร ?
ก.
เสียหน้าที่
ข.
เสียการงาน
ค.
เสียสุขภาพ
ง.
เสียชื่อเสียง
๔๘.
การเอาใจใส่ไม่ทอดทิ้งธุระหน้าที่ จัดว่ามีสติรอบคอบในเรื่องใด ?
ก.
รู้จักประมาณในการบริโภค
ข.
ไม่ประมาทในธรรม
ค.
ไม่ประมาทในการงาน
ง.
มีสติสัมปชัญญะในการประพฤติตัว
๔๙.
ข้อใด ชื่อว่าไม่ประมาทในโลกธรรม ?
ก.
ดีใจได้เลื่อนตำแหน่ง
ข.
เสียใจเมื่อตกจากงาน
ค.
โกรธเมื่อถูกนินทา
ง.
โลกธรรมเป็นเรื่องธรรมดา
๕๐.
การตั้งอยู่ในกัลยาณธรรม มีประโยชน์ต่อสังคมอย่างไร ?
ก.
เป็นแบบอย่างที่ดี
ข.
ร่ำรวยเงินทอง
ค.
ธุรกิจก้าวหน้า
ง.
มีเกียรติยศชื่อเสียง
เอกสารอ้างอิง
เรื่องสอบธรรม ของสนามหลวงแผนกธรรม พ.ศ.๒๕๕๔. หน้า ๒๓๐-๒๔๐.
ข้อสอบสนามหลวง
พ.ศ. ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๑
พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๖๕
พ.ศ. ๒๕๖๖
พ.ศ. ๒๕๖๗
พ.ศ. ๒๕๖๘
พ.ศ. ๒๕๖๙
พ.ศ. ๒๕๗๐
พ.ศ. ๒๕๗๑
พ.ศ. ๒๕๗๒
พ.ศ. ๒๕๗๓
พ.ศ. ๒๕๗๔
พ.ศ. ๒๕๗๕
พ.ศ. ๒๕๗๖
พ.ศ. ๒๕๗๗
พ.ศ. ๒๕๗๘
พ.ศ. ๒๕๗๙
พ.ศ. ๒๕๘๐
พ.ศ. ๒๕๘๑
พ.ศ. ๒๕๘๒
พ.ศ. ๒๕๘๓
พ.ศ. ๒๕๘๔
พ.ศ. ๒๕๘๕
พ.ศ. ๒๕๘๖
พ.ศ. ๒๕๘๗
พ.ศ. ๒๕๘๘
พ.ศ. ๒๕๘๙
พ.ศ. ๒๕๙๐
พ.ศ. ๒๕๙๑
พ.ศ. ๒๕๙๒
พ.ศ. ๒๕๙๓
พ.ศ. ๒๕๙๔
พ.ศ. ๒๕๙๕
พ.ศ. ๒๕๙๖
พ.ศ. ๒๕๙๗
พ.ศ. ๒๕๙๘
พ.ศ. ๒๕๙๙
พ.ศ. ๒๖๐๐