ปัญหาและเฉลย
วิชาเบญจศีล เบญจธรรม (วินัย) ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันจันทร์ ที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕
เวลา ๑๕.๐๐ - ๑๕.๕๐ น.
คำสั่ง :
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วฝนลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑.
เครื่องป้องกันความชั่วทางกายวาจา คือข้อใด ?
ก.
ศีล
ข.
สมาธิ
ค.
ปัญญา
ง.
ภาวนา
๒.
ผู้ปรารถนาจะอบรมจิตให้ตั้งมั่น ควรทำสิ่งใดก่อน ?
ก.
ฝึกสมาธิ
ข.
รักษาศีล
ค.
สวดมนต์
ง.
ฟังเทศน์
๓.
ศีล 5 เป็นข้อปฏิบัติเพื่อให้มนุษย์มีความสะอาดในด้านใด ?
ก.
กายกับใจ
ข.
วาจากับใจ
ค.
กายวาจาใจ
ง.
กายกับวาจา
๔.
การรักษาศีลข้อที่ 1 มีประโยชน์ต่อสังคมอย่างไร ?
ก.
ไม่ทำร้ายกัน
ข.
ไม่เล่นการพนัน
ค.
ไม่คบชู้
ง.
ไม่เสพสิ่งเสพติด
๕.
การรักษาศีลข้อที่ 1 ป้องกันเรื่องใด ?
ก.
ความโหดร้าย
ข.
ความมักมาก
ค.
ความใจง่าย
ง.
ความงมงาย
๖.
สัตว์ที่ห้ามฆ่าในศีลข้อที่ 1 ตรงกับข้อใด ?
ก.
มนุษย์
ข.
สัตว์เดรัจฉาน
ค.
สัตว์ในครรภ์
ง.
ถูกทุกข้อ
๗.
ข้อใด จัดเป็นปาณาติบาต ?
ก.
ฆ่าสัตว์นรก
ข.
ฆ่าเปรต
ค.
ฆ่าอสูรกาย
ง.
ฆ่าสัตว์
๘.
อะไร เป็นวัตถุแห่งปาณาติบาต ?
ก.
ปลา
ข.
ต้นไม้
ค.
ทรัพย์สิน
ง.
สุรา
๙.
เจตนาที่ให้สำเร็จปาณาติบาต ตรงกับข้อใด ?
ก.
จงใจฆ่า
ข.
จงใจขโมย
ค.
จงใจพูดเท็จ
ง.
จงใจดื่มสุรา
๑๐.
ข้อใด เกี่ยวข้องกับศีลข้อที่ 1 ?
ก.
กักขัง
ข.
สมโจร
ค.
ผลาญ
ง.
ส่อเสียด
๑๑.
จงใจขับรถชนผู้อื่นถึงขาขาด เป็นอนุโลมปาณาติบาตข้อใด ?
ก.
ทำให้พิการ
ข.
ทำให้เสียโฉม
ค.
เล่นสนุก
ง.
ทำให้บาดเจ็บ
๑๒.
ใช้การ ได้แก่การกระทำในข้อใด ?
ก.
ไม่ให้หยุดพักผ่อน
ข.
เลี้ยงไว้ในกรง
ค.
ล่ามโซ่ไม่ให้หนี
ง.
เลี้ยงไว้กัดกัน
๑๓.
ข้อใด ไม่นับเข้าในวัตถุแห่งอทินนาทาน ?
ก.
ของมีกรรมสิทธิ์
ข.
ของมีลิขสิทธิ์
ค.
ของมีเจ้าของ
ง.
ของที่สละทิ้ง
๑๔.
อสังหาริมทรัพย์ ได้แก่ทรัพย์เช่นใด ?
ก.
รถยนต์
ข.
โฉนดที่ดิน
ค.
เงินทอง
ง.
ที่ดิน
๑๕.
การกระทำใด จัดเป็นอทินนาทานเพราะทรัพย์สินของตนเอง ?
ก.
บุกรุกป่าชายเลน
ข.
บุกรุกป่าสงวน
ค.
ลักขุดทรายในแม่น้ำ
ง.
หลบเลี่ยงภาษี
๑๖.
ยืมเงินคนอื่นแล้วไม่ใช้คืน จัดเข้าในโจรกรรมข้อใด ?
ก.
สับเปลี่ยน
ข.
ยักยอก
ค.
ตระบัด
ง.
กรรโชก
๑๗.
ข้อใด เป็นโจรกรรมข้อว่า ฉก ?
ก.
วิ่งราว
ข.
กรรโชก
ค.
ยักยอก
ง.
สับเปลี่ยน
๑๘.
พูดโกหกเพื่อเอาของของเขา ตรงกับข้อใด ?
ก.
ลับ
ข.
ลวง
ค.
พราง
ง.
หลอก
๑๙.
ลักของที่เคลื่อนที่ได้ ศีลขาดตอนไหน ?
ก.
เจ้าของปลงใจ
ข.
จ้าของทอดธุระ
ค.
ของเคลื่อนจากที่ตั้ง
ง.
ของชำรุดเสียหาย
๒๐.
การรับซื้อของโจร มีผลกระทบต่อสังคมอย่างไร ?
ก.
หย่าร้าง
ข.
แตกแยก
ค.
โจรชุกชุม
ง.
ทะเลาะวิวาท
๒๑.
การทุบทำลายทรัพย์สินคนอื่นให้เสียหาย ตรงกับข้อใด ?
ก.
หยิบฉวย
ข.
ผลาญ
ค.
กรรโชก
ง.
ตระบัด
๒๒.
พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติศีลข้อ 3 เพื่อประโยชน์ใด ?
ก.
ให้มีเมตตาต่อผู้อื่น
ข.
ให้ยินดีในคู่ครองตน
ค.
ให้ช่วยเหลือผู้อื่น
ง.
ให้ยินดีในสมบัติตน
๒๓.
สามีภรรยาที่มีความรักความซื่อตรงต่อกัน เพราะมีศีลข้อใด ?
ก.
ปาณาติปาตา เวรมณี
ข.
อทินนาทานา เวรมณี
ค.
กาเมสุมิจฉาจารา เวรมณี
ง.
มุสาวาทา เวรมณี
๒๔.
ล่วงประเวณี ในศีลข้อที่ 3 ตรงกับข้อใด ?
ก.
ทำชื่อเสียงให้เสียหาย
ข.
ทำทรัพย์สินให้เสียหาย
ค.
ทำเชื้อสายให้เสียหาย
ง.
ทำการงานให้เสียหาย
๒๕.
หญิงชายที่ห้ามไว้ในศีลข้อที่ 3 มีกี่จำพวก ?
ก.
10 จำพวก
ข.
20 จำพวก
ค.
30 จำพวก
ง.
40 จำพวก
๒๖.
หญิงที่อยู่ในความพิทักษ์รักษาของบิดามารดา ตรงกับข้อใด ?
ก.
ลูกสาว
ข.
ลูกสะใภ้
ค.
หลานสาว
ง.
หลานสะใภ้
๒๗.
ปัญหาสังคมข้อใด เกิดเพราะละเมิดศีลข้อที่ 3 ?
ก.
หย่าร้าง
ข.
อาชญากรรม
ค.
ลักขโมย
ง.
ทำร้ายร่างกาย
๒๘.
พูดอย่างไร เรียกว่า มุสา ?
ก.
พูดให้เข้าใจผิด
ข.
พูดให้ทะเลาะกัน
ค.
พูดให้แตกแยก
ง.
พูดให้เจ็บใจ
๒๙.
การแสดงความเท็จเกิดขึ้นได้ทางใด ?
ก.
วาจาและใจ
ข.
กายและวาจา
ค.
กายและใจ
ง.
กายวาจาและใจ
๓๐.
นำเอกสารที่เป็นเท็จมาแสดงในที่ประชุม เป็นมุสาเกิดทางใด ?
ก.
กาย
ข.
วาจา
ค.
ใจ
ง.
วาจา ใจ
๓๑.
โทษของมุสา ตรงกับข้อใด ?
ก.
ขาดคนเชื่อถือ
ข.
ขาดคนเมตตา
ค.
ขาดคนสงสาร
ง.
ขาดคนเห็นใจ
๓๒.
การอวดอ้างความศักดิ์สิทธิ์ที่ไม่เป็นจริง ตรงกับข้อใด ?
ก.
ทนสาบาน
ข.
ทำเล่ห์กระเท่ห์
ค.
ทำเลศ
ง.
เสริมความ
๓๓.
ไม่เจ็บป่วย ทำท่าทางให้เขาเห็นว่าเจ็บป่วย ตรงกับข้อใด ?
ก.
ทนสาบาน
ข.
ทำเล่ห์กระเท่ห์
ค.
มารยา
ง.
อำความ
๓๔.
การดื่มสุราเป็นเหตุให้เกิดโทษแก่ตนและคนอื่น ตรงกับข้อใด ?
ก.
ประพฤติน่าอดสู
ข.
ทอนกำลังปัญหา
ค.
ก่อการวิวาท
ง.
เสียสุขภาพ
๓๕.
นโยบายปราบปรามยาเสพติด สนับสนุนศีลข้อใด ?
ก.
ศีลข้อที่ 1
ข.
ศีลข้อที่ 3
ค.
ศีลข้อที่ 4
ง.
ศีลข้อที่ 5
๓๖.
ข้อใด เป็นกฎหมายเกี่ยวข้องกับศีลข้อที่ 5 ?
ก.
ห้ามฆ่าสัตว์ในวัด
ข.
ห้ามดื่มสุราในวัด
ค.
ห้ามขายอาวุธในวัด
ง.
ห้ามเล่นการพนันในวัด
๓๗.
ข้อใด ได้ชื่อว่าประพฤติตนอยู่ในศีลข้อที่ 5 ?
ก.
ไม่ฆ่าสัตว์
ข.
ไม่ลักทรัพย์
ค.
ไม่เจ้าชู้
ง.
ไม่ดื่มสุรา
๓๘.
กิริยาที่งดเว้นจากการล่วงละเมิดข้อห้ามในศีล 5 เรียกว่าอะไร ?
ก.
สมบัติ
ข.
วิรัติ
ค.
เจตนา
ง.
กัลยาณธรรม
๓๙.
การจะรักษาศีล 5 ให้มั่นคงต้องมีอะไรสนับสนุน ?
ก.
วิรัติ
ข.
เจตนา
ค.
กัลยาณธรรม
ง.
กัลยาณศีล
๔๐.
การรักษาศีลของพระภิกษุและสามเณร จัดเป็นวิรัติใด ?
ก.
สมาทานวิรัติ
ข.
สัมปัตตวิรัติ
ค.
สมุจเฉทวิรัติ
ง.
ถูกทุกข้อ
๔๑.
การงดเว้นที่เรียกว่าสมุจเฉทวิรัติ มีลักษณะเช่นไร ?
ก.
งดเว้นเฉพาะหน้า
ข.
งดเว้นชั่วคราว
ค.
งดเว้นเฉพาะข้อ
ง.
งดเว้นเด็ดขาด
๔๒.
กัลยาณธรรมข้อใด สนับสนุนให้คนมีอาชีพสุจริต ?
ก.
เมตตา
ข.
กรุณา
ค.
สัมมาอาชีวะ
ง.
กามสังวร
๔๓.
คนพูดมุสาทำให้ขาดกัลยาณธรรมใด ?
ก.
เมตตา
ข.
กรุณา
ค.
ความมีสัจจะ
ง.
ความมีสติ
๔๔.
คนขายกัลยาณธรรมใด ไม่สามารถรักษาศีลข้อ 1 ให้บริบูรณ์ได้ ?
ก.
เมตตา
ข.
ความมีสัจจะ
ค.
กามสังวร
ง.
ความมีสติ
๔๕.
คุณธรรมเช่นไร เรียกว่า กรุณา ?
ก.
ปรารถนาให้เขาเป็นสุข
ข.
ปรารถนาให้เขาพ้นทุกข์
ค.
ปรารถนาให้เขาได้ดี
ง.
ปรารถนาให้เขารุ่งเรือง
๔๖.
พ่อแม่ปรารถนาให้ลูกได้ดี เพราะมีกัลยาณธรรมใด ?
ก.
เมตตา
ข.
กรุณา
ค.
มุทิตา
ง.
อุเบกขา
๔๗.
การกระทำใด เรียกว่า ประพฤติเป็นธรรมในกิจการ ?
ก.
ซื่อตรงต่อลูกค้า
ข.
ซื่อตรงต่อสินค้า
ค.
ซื่อตรงต่อเวลา
ง.
ซื่อตรงต่อเจ้านาย
๔๘.
กัลยาณธรรมข้อ 3 ทำให้คนประพฤติเช่นไร ?
ก.
สำรวมในกาม
ข.
มีอาชีพสุจริต
ค.
ให้มีสติ
ง.
มีความซื่อสัตย์
๔๙.
บุคคลประพฤติเช่นไร เรียกว่า มีสัจจะ ?
ก.
ทำดี
ข.
พูดดี
ค.
คิดดี
ง.
ปรารถนาดี
๕๐.
บุคคลจะเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ต้องปฏิบัติอย่างไร ?
ก.
มีศีลธรรม
ข.
มีความเสียสละ
ค.
มีความเอื้อเฟื้อ
ง.
มีความมัธยัสถ์
เอกสารอ้างอิง
เรื่องสอบธรรม ของสนามหลวงแผนกธรรม พ.ศ.๒๕๕๕. หน้า ๒๒๒-๒๓๒.
ข้อสอบสนามหลวง
พ.ศ. ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๑
พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๖๕
พ.ศ. ๒๕๖๖
พ.ศ. ๒๕๖๗
พ.ศ. ๒๕๖๘
พ.ศ. ๒๕๖๙
พ.ศ. ๒๕๗๐
พ.ศ. ๒๕๗๑
พ.ศ. ๒๕๗๒
พ.ศ. ๒๕๗๓
พ.ศ. ๒๕๗๔
พ.ศ. ๒๕๗๕
พ.ศ. ๒๕๗๖
พ.ศ. ๒๕๗๗
พ.ศ. ๒๕๗๘
พ.ศ. ๒๕๗๙
พ.ศ. ๒๕๘๐
พ.ศ. ๒๕๘๑
พ.ศ. ๒๕๘๒
พ.ศ. ๒๕๘๓
พ.ศ. ๒๕๘๔
พ.ศ. ๒๕๘๕
พ.ศ. ๒๕๘๖
พ.ศ. ๒๕๘๗
พ.ศ. ๒๕๘๘
พ.ศ. ๒๕๘๙
พ.ศ. ๒๕๙๐
พ.ศ. ๒๕๙๑
พ.ศ. ๒๕๙๒
พ.ศ. ๒๕๙๓
พ.ศ. ๒๕๙๔
พ.ศ. ๒๕๙๕
พ.ศ. ๒๕๙๖
พ.ศ. ๒๕๙๗
พ.ศ. ๒๕๙๘
พ.ศ. ๒๕๙๙
พ.ศ. ๒๖๐๐