ปัญหาและเฉลย
วิชาธรรม ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันอังคาร ที่ ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๖
เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๓.๕๐ น.
คำสั่ง :
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว
ในช่อง
ที่ต้องการ
ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑.
คำว่า ผู้ข้องอยู่ในโลก หมายถึงข้องอยู่ในสิ่งใด ?
ก.
วัตถุกาม
ข.
วิมุตติ
ค.
วิสุทธิ
ง.
นิพพาน
๒.
คำว่า คนเขลา ในอุทเทสแห่งนิพพิทา หมายถึงใคร ?
ก.
คนไร้ทรัพย์
ข.
คนไร้เมตตา
ค.
คนไร้พวกพ้อง
ง.
คนไร้ปัญญา
๓.
รู้โลกอย่างไร จึงจะไม่ข้องอยู่ในโลก ?
ก.
รู้ตามเป็นจริง
ข.
รู้ตามตำรา
ค.
รู้ตามประเพณี
ง.
รู้ตามคำทำนาย
๔.
โทษล้างผลาญความดี เรียกว่าอะไร ?
ก.
มาร
ข.
วิราคะ
ค.
วิสุทธิ
ง.
วิมุตติ
๕.
ประพฤติเช่นใด จึงจะพ้นจากบ่วงแห่งมาร ?
ก.
รักษาศีล
ข.
สำรวมจิต
ค.
สำรวมกาย
ง.
สำรวมวาจา
๖.
ความหน่ายอะไรไม่จัดเป็นนิพพิทา ?
ก.
บุญกุศล
ข.
เบญจขันธ์
ค.
สังขาร
ง.
ทุกข์
๗.
คำว่า สังขาร ในปฏิปทาแห่งนิพพิทา ได้แก่อะไร ?
ก.
จิต
ข.
เบญจขันธ์
ค.
อินทรีย์
ง.
อายตนะ
๘.
บุคคลไม่เห็นอนิจจลักษณะ เพราะอะไรปิดบัง ?
ก.
สันตติ
ข.
อิริยาบถ
ค.
ฆนสัญญา
ง.
เวทนา
๙.
บุคคลไม่เห็นทุกขลักษณะ เพราะอะไรปิดบัง ?
ก.
สันตติ
ข.
อิริยาบถ
ค.
ฆนสัญญา
ง.
โสมนัส
๑๐.
หนาว ร้อน หิว กระหาย จัดเป็นทุกข์อะไร ?
ก.
สภาวทุกข์
ข.
ข.ปกิณณกทุกข์
ค.
นิพัทธทุกข์
ง.
พยาธิทุกข์
๑๑.
ข้อใด จัดเป็นทุกข์ประจำสังขาร ?
ก.
ชรา
ข.
พยาธิ
ค.
โสกะ
ง.
ปริเทวะ
๑๒.
ข้อใด จัดเป็นทุกข์จร ?
ก.
ความแก่
ข.
ความหิว
ค.
ความร้อนรุม
ง.
ความเศร้าโศก
๑๓.
ความไม่มีโรคเป็นลาภอันประเสริฐ เพราะปราศจากทุกข์ใด ?
ก.
สภาวทุกข์
ข.
ปกิณณกทุกข์
ค.
พยาธิทุกข์
ง.
สันตาปทุกข์
๑๔.
ทุกข์ที่เกิดจากการทะเลาะวิวาทกัน จัดเป็นทุกข์ประเภทใด ?
ก.
สภาวทุกข์
ข.
ปกิณณกทุกข์
ค.
วิวาทมูลกทุกข์
ง.
สันตาปทุกข์
๑๕.
ลาภ ยศ สรรเสริญ สุข เป็นเหตุให้เกิดทุกข์อะไร ?
ก.
พยาธิทุกข์
ข.
วิปากทุกข์
ค.
วิวาทมูลกทุกข์
ง.
สหคตทุกข์
๑๖.
ความเป็นอนัตตาแห่งสังขาร กำหนดรู้ได้อย่างไร ?
ก.
เป็นของเที่ยง
ข.
ไม่อยู่ในอำนาจ
ค.
อยู่คงที่
ง.
ไม่เปลี่ยนแปลง
๑๗.
พิจารณาเห็นสังขารเป็นอนัตตาด้วยอะไร จึงเป็นทางแห่งวิสุทธิ ?
ก.
ฌาน
ข.
ศีล
ค.
สมาธิ
ง.
ปัญญา
๑๘.
การเห็นสังขารเป็นอนัตตา มีอะไรกำกับไว้ จึงไม่เป็นมิจฉาทิฏฐิ ?
ก.
ฌาน
ข.
สมาธิ
ค.
โยนิโสมนสิการ
ง.
นิพพิทาญาณ
๑๙.
ธรรมที่เป็นยอดแห่งธรรมทั้งปวง คืออะไร ?
ก.
วิราคะ
ข.
วิรัติ
ค.
วิมุตติ
ง.
วิสุทธิ
๒๐.
ความเมาในคำว่า มทนิมฺมทโน หมายถึงเมาอะไร ?
ก.
ยาบ้า
ข.
ลาภยศ
ค.
สุรา
ง.
กิเลส
๒๑.
นิโรธ ในไวพจน์แห่งวิราคะ หมายถึงดับอะไร ?
ก.
ทุกข์
ข.
นิวรณ์
ค.
เวทนา
ง.
วิญญาณ
๒๒.
วิมุตติคือความหลุดพ้นในข้อใด เป็นวิสัยของโลกิยชน ?
ก.
วิกขัมภนวิมุตติ
ข.
สมุจเฉทวิมุตติ
ค.
ปฏิปัสสัทธิวิมุตติ
ง.
นิสสรณวิมุตติ
๒๓.
วิมุตติใด เป็นปฏิปทาของพระอรหันต์ผู้บำเพ็ญเฉพาะวิปัสสนา ?
ก.
ตทังควิมุตติ
ข.
วิขัมภนวิมุตติ
ค.
เจโตวิมุตติ
ง.
ปัญญาวิมุตติ
๒๔.
ในอุทเทสแห่งวิสุทธิ ความหมดจดแห่งจิต ย่อมมีได้ด้วยอะไร ?
ก.
ปัญญา
ข.
ฌาน
ค.
สมาบัติ
ง.
สมาธิ
๒๕.
พิจารณาเห็นความเกิดดับแห่งสังขารว่าไม่เที่ยง เป็นญาณอะไร ?
ก.
อุทยัพพยญาณ
ข.
ภังคญาณ
ค.
อาทีนวญาณ
ง.
นิพพิทาญาณ
๒๖.
การเพ่งสังขารว่าแปรไปชั่วขณะ เป็นญาณอะไร ?
ก.
อุทยัพพยญาณ
ข.
ภังคญาณ
ค.
อาทีนวญาณ
ง.
นิพพิทาญาณ
๒๗.
ความวางเฉยในอะไร จัดเป็นปฏิสังขารุเปกขาญาณ ?
ก.
สังขาร
ข.
อารมณ์
ค.
บุญบาป
ง.
ทุกข์
๒๘.
วิสุทธิที่ทำให้ข้ามพ้นความสงสัย เรียกว่าอะไร ?
ก.
สีลวิสุทธิ
ข.
จิตตวิสุทธิ
ค.
ทิฏฐิวิสุทธิ
ง.
กังขาวิตรณวิสุทธิ
๒๙.
อริยมรรคใด จัดเข้าในสีลวิสุทธิ ?
ก.
สัมมาวาจา
ข.
สัมมาวายามะ
ค.
สัมมาสมาธิ
ง.
สัมมาสังกัปปะ
๓๐.
อริยมรรคใด จัดเข้าในจิตตวิสุทธิ ?
ก.
สัมมาวาจา
ข.
สัมมาทิฏฐิ
ค.
สัมมาสมาธิ
ง.
สัมมาสังกัปปะ
๓๑.
อริยมรรคใด จัดเข้าในทิฏฐิวิสุทธิ ?
ก.
สัมมาสังกัปปะ
ข.
สัมมาวายามะ
ค.
สัมมาสติ
ง.
สัมมาสมาธิ
๓๒.
สุขอื่นจากความสงบไม่มี เป็นอุทเทสของอะไร ?
ก.
นิพพิทา
ข.
วิราคะ
ค.
วิมุตติ
ง.
สันติ
๓๓.
ผู้มุ่งความสงบพึงละโลกามิส อะไรเป็นโลกามิส ?
ก.
กามคุณ ๕
ข.
ขันธ์ ๕
ค.
นิวรณ์ ๕
ง.
อินทรีย์ ๕
๓๔.
บุคคลผู้เห็นภัยในความประมาท ชื่อว่าปฏิบัติใกล้อะไร ?
ก.
มนุษยโลก
ข.
เทวโลก
ค.
พรหมโลก
ง.
นิพพาน
๓๕.
คำว่า อุปาทิ ในสอุปาทิเสสนิพพาน หมายถึงอะไร ?
ก.
เบญจขันธ์
ข.
ตัณหา
ค.
อุปาทาน
ง.
กิเลส
๓๖.
ข้อใด กล่าวถึงอนุปาทิเสสนิพพานได้ถูกต้อง ?
ก.
สิ้นกิเลส
ข.
สิ้นชีวิต
ค.
สิ้นกิเลสมีชีวิต
ง.
สิ้นกิเลสสิ้นชีวิต
๓๗.
ในทางพระพุทธศาสนากล่าวว่า อะไรเป็นสุขอย่างยิ่ง ?
ก.
นิพพิทา
ข.
ฌาน
ค.
สมาบัติ
ง.
นิพพาน
๓๘.
ข้อใด ไม่ใช่ความหมายของนิพพาน ?
ก.
ดับ
ข.
ร้อน
ค.
เย็น
ง.
หยุด
๓๙.
ในการเจริญกัมมัฏฐาน สิ่งที่ขวางกั้นจิตไม่ให้เกิดสมาธิ คืออะไร ?
ก.
นิวรณ์
ข.
อุปกิเลส
ค.
ปฏิฆะ
ง.
ตัณหา
๔๐.
หัวใจสมถกัมมัฏฐาน ตรงกับข้อใด ?
ก.
เทวตานุสสติ
ข.
สีลานุสสติ
ค.
จาคานุสสติ
ง.
กายคตาสติ
๔๑.
กายคตาสติแก้นิวรณ์ข้อใดได้ ?
ก.
กามฉันท์
ข.
พยาบาท
ค.
ถีนมิทธะ
ง.
วิจิกิจฉา
๔๒.
พรหมวิหารข้อใด เป็นหัวใจของสมถกัมมัฏฐาน ?
ก.
เมตตา
ข.
กรุณา
ค.
มุทิตา
ง.
อุเบกขา
๔๓.
การเจริญเมตตากัมมัฏฐาน ควรเริ่มต้นที่ใครก่อน ?
ก.
บิดามารดา
ข.
ครูอาจารย์
ค.
มิตรสหาย
ง.
ตนเอง
๔๔.
คนวิตกจริต จะแก้ด้วยกัมมัฏฐานใด ?
ก.
เมตตา
ข.
กายคตาสติ
ค.
กสิณ
ง.
พุทธานุสสติ
๔๕.
จตุธาตุววัตถานกัมมัฏฐาน พิจารณาอะไรเป็นอารมณ์ ?
ก.
ธาตุ ๔
ข.
ขันธ์ ๕
ค.
อายตนะ ๖
ง.
โพชฌงค์ ๗
๔๖.
คนสัทธาจริต ควรเจริญกัมมัฏฐานใด ?
ก.
พรหมวิหาร
ข.
กสิณ
ค.
อสุภะ
ง.
พุทธานุสสติ
๔๗.
การเจริญวิปัสสนากัมมัฏฐาน เป็นอุบายให้เกิดอะไร ?
ก.
ปีติ
ข.
สุข
ค.
เอกัคคตา
ง.
ปัญญา
๔๘.
ธรรมอันเป็นพื้นฐานของวิปัสสนากัมมัฏฐาน คืออะไร ?
ก.
สีลวิสุทธิ
ข.
ทิฏฐิวิสุทธิ
ค.
กังขาวิตรณวิสุทธิ
ง.
ญาณทัสสนวิสุทธิ
๔๙.
วิสุทธิใด จัดเป็นยอดของวิปัสสนาญาณ ?
ก.
สีลวิสุทธิ
ข.
ข.ทิฏฐิวิสุทธิ
ค.
กังขาวิตรณวิสุทธิ
ง.
ญาณทัสสนวิสุทธิ
๕๐.
ผลสูงสุดของการเจริญวิปัสสนากัมมัฏฐาน คือข้อใด ?
ก.
เห็นไตรลักษณ์
ข.
เห็นไตรสิกขา
ค.
เห็นไตรภูมิ
ง.
เห็นไตรเพท
เอกสารอ้างอิง
เรื่องสอบธรรม ของสนามหลวงแผนกธรรม พ.ศ.๒๕๕๖. หน้า ๒๔๘-๒๕๘.
ข้อสอบจริง สอบวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๖. เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๓.๕๐ น.
ข้อสอบสนามหลวง
พ.ศ. ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๑
พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๖๕
พ.ศ. ๒๕๖๖
พ.ศ. ๒๕๖๗
พ.ศ. ๒๕๖๘
พ.ศ. ๒๕๖๙
พ.ศ. ๒๕๗๐
พ.ศ. ๒๕๗๑
พ.ศ. ๒๕๗๒
พ.ศ. ๒๕๗๓
พ.ศ. ๒๕๗๔
พ.ศ. ๒๕๗๕
พ.ศ. ๒๕๗๖
พ.ศ. ๒๕๗๗
พ.ศ. ๒๕๗๘
พ.ศ. ๒๕๗๙
พ.ศ. ๒๕๘๐
พ.ศ. ๒๕๘๑
พ.ศ. ๒๕๘๒
พ.ศ. ๒๕๘๓
พ.ศ. ๒๕๘๔
พ.ศ. ๒๕๘๕
พ.ศ. ๒๕๘๖
พ.ศ. ๒๕๘๗
พ.ศ. ๒๕๘๘
พ.ศ. ๒๕๘๙
พ.ศ. ๒๕๙๐
พ.ศ. ๒๕๙๑
พ.ศ. ๒๕๙๒
พ.ศ. ๒๕๙๓
พ.ศ. ๒๕๙๔
พ.ศ. ๒๕๙๕
พ.ศ. ๒๕๙๖
พ.ศ. ๒๕๙๗
พ.ศ. ๒๕๙๘
พ.ศ. ๒๕๙๙
พ.ศ. ๒๖๐๐