ปัญหาและเฉลย
วิชาธรรม ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันอังคาร ที่ ๒๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๑
เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๓.๕๐ น.
คำสั่ง :
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วกากบาท (X) ลงในช่อง
ของข้อที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑.
พระพุทธเจ้าตรัสเรียกให้มาดูโลก เพื่อประโยชน์อะไร ?
ก.
เพื่อคลายเครียด
ข.
เพื่อคลายทุกข์
ค.
เพื่อเพลิดเพลิน
ง.
เพื่อให้รู้ความจริง
๒.
คำว่า พวกคนเขลา หมายถึงบุคคลข้อใด ?
ก.
คนอันธพาล
ข.
คนสมองไม่ดี
ค.
คนขาดสติ
ง.
คนผู้ไร้พิจารณ์
๓.
ผู้รู้หาข้องอยู่ไม่ คำว่าผู้รู้ ตรงกับข้อใด ?
ก.
ผู้รู้โลกตามเป็นจริง
ข.
ผู้รู้สังคมโลก
ค.
ผู้รู้โลกธรรม
ง.
ผู้รู้คดีโลกคดีธรรม
๔.
ทำอย่างไรจึงจะไม่หลงอยู่ในโลก ?
ก.
หนีออกจากโลก
ข.
หนีออกไปบวช
ค.
ไม่ยุ่งกับใคร
ง.
ไม่ติดในสิ่งล่อใจ
๕.
ในเรื่องนิพพิทา อาการเช่นใดเรียกว่า สำรวมจิต ?
ก.
มนสิการกัมมัฏฐาน
ข.
ทำใจให้สบาย
ค.
ทำใจไม่รับรู้อารมณ์
ง.
ทำใจไม่ให้ยึดติด
๖.
เบื่อหน่ายอะไร จัดเป็นนิพพิทา ?
ก.
เบื่อหน่ายสังขาร
ข.
เบื่อหน่ายสังคม
ค.
เบื่อหน่ายการงาน
ง.
เบื่อหน่ายการเรียน
๗.
บ่วงแห่งมาร หมายถึงอะไร ?
ก.
อายตนะภายใน
ข.
อายตนะภายนอก
ค.
โลภ โกรธ หลง
ง.
สิ่งที่เกิดภายในใจ
๘.
ความไม่ดีในข้อใด จัดเป็นมาร ?
ก.
ความเห็นแก่ตัว
ข.
ความเกียจคร้าน
ค.
ความทะยานอยาก
ง.
ความโกรธทำลายล้าง
๙.
กิเลสกามได้ชื่อว่าเป็นมาร เพราะเหตุใด ?
ก.
เป็นเครื่องจูงใจ
ข.
ทำให้เศร้าหมอง
ค.
ทำให้ใจหลงระเริง
ง.
ล้างผลาญคุณความดี
๑๐.
วัตถุกาม เรียกว่าอะไร ?
ก.
ขันธมาร
ข.
บ่วงแห่งมาร
ค.
มัจจุมาร
ง.
กิเลสมาร
๑๑.
ปฏิบัติอย่างไร จึงจะตัดบ่วงแห่งมารได้เด็ดขาด ?
ก.
สำรวมอินทรีย์
ข.
มนสิการกัมมัฏฐาน
ค.
เจริญวิปัสสนา
ง.
เข้าฌานสมาบัติ
๑๒.
คำว่า สังขาร ในปฏิปทาแห่งนิพพิทา หมายถึงอะไร ?
ก.
เบญจขันธ์
ข.
อายตนะ
ค.
อินทรีย์
ง.
ธาตุ
๑๓.
ความเกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไปแห่งสังขาร เรียกว่าอะไร ?
ก.
อนัตตลักษณะ
ข.
อนิจจลักษณะ
ค.
ไตรลักษณะ
ง.
ทุกขลักษณะ
๑๔.
เกิด แก่ เจ็บ ตาย จัดเป็นทุกข์ชนิดใด ?
ก.
ทุกขเวทนา
ข.
สภาวทุกข์
ค.
พยาธิทุกข์
ง.
ทุกข์รวบยอด
๑๕.
ข้อใดจัดเป็นวิปากทุกข์ ?
ก.
กลัวไม่มีงานทำ
ข.
กลัวถูกยึดทรัพย์สิน
ค.
ร้อนใจเพราะทุจริต
ง.
เสียใจเพราะพลาดตำแหน่ง
๑๖.
ความหนาว ร้อน หิว กระหาย จัดเป็นทุกข์อะไร ?
ก.
สภาวทุกข์
ข.
วิปากทุกข์
ค.
นิพัทธทุกข์
ง.
พยาธิทุกข์
๑๗.
ทุกข์เพราะหาเงินไม่พอใช้ จัดเป็นทุกข์อะไร ?
ก.
สภาวทุกข์
ข.
นิพัทธทุกข์
ค.
วิปากทุกข์
ง.
อาหารปริเยฏฐิทุกข์
๑๘.
พูดโดยไม่คิด พ่นพิษใส่คนอื่น จัดเป็นทุกข์อะไร ?
ก.
ปกิณณกทุกข์
ข.
สภาวทุกข์
ค.
นิพัทธทุกข์
ง.
วิวาทมูลกทุกข์
๑๙.
อะไรปิดบังไว้ จึงไม่เห็นสังขารเป็นอนัตตา ?
ก.
อิริยาบถ
ข.
สันตติ
ค.
ฆนสัญญา
ง.
สุขเวทนา
๒๐.
ข้อใดเป็นลักษณะของอนิจจตา ?
ก.
ไม่มีเจ้าของ
ข.
ไม่อยู่ในอำนาจ
ค.
ทนได้ยาก
ง.
เกิดขึ้นแล้วดับไป
๒๑.
เมื่อรู้ว่า สังขารเป็นไปตามเหตุปัจจัย พึงปฏิบัติอย่างไร ?
ก.
ยินดีทุกเมื่อ
ข.
ปล่อยว่างทุกเมื่อ
ค.
มีสติทุกเมื่อ
ง.
มีสุขทุกเมื่อ
๒๒.
อะไรปิดบังไว้ จึงไม่เห็นสังขารเป็นอนัตตา ?
ก.
อนิจจสัญญา
ข.
ทุกขสัญญา
ค.
สุขสัญญา
ง.
ฆนสัญญา
๒๓.
นั่นมิใช่เรา นั่นมิใช่ของเรา จัดเป็นอนัตตาข้อใด ?
ก.
หาเจ้าของมิได้
ข.
แย้งอนัตตา
ค.
เป็นสภาพสูญ
ง.
ไม่อยู่ในอำนาจ
๒๔.
เมื่อเบื่อหน่ายสังขาร ย่อมเกิดอะไรขึ้น ?
ก.
ไม่หลง
ข.
ไม่ฟุ้งซ่าน
ค.
สิ้นกิเลส
ง.
สิ้นกำหนัด
๒๕.
ความติดพันห่วงใยในอารมณ์อันเป็นที่รัก เรียกว่าอะไร ?
ก.
ความเมา
ข.
ความอยาก
ค.
ความอาลัย
ง.
ความหิวกระหาย
๒๖.
ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับวิราคะ ?
ก.
ความเบื่อหน่าย
ข.
ความสุข
ค.
ความสิ้นทุกข์
ง.
ความดับ
๒๗.
มทนิมฺมทโน ธรรมยังความเมาให้สร่าง นั้น หมายถึงข้อใด ?
ก.
สุรา
ข.
ยาบ้า
ค.
กัญชา
ง.
ลาภยศ
๒๘.
ปิปาสวินโย ความนำเสียซึ่งความระหาย หมายถึงข้อใด ?
ก.
กำจัดความหิว
ข.
กำจัดความทุกข์ร้อน
ค.
กำจัดตัณหา
ง.
กำจัดความยากจน
๒๙.
การเวียนเกิดด้วยอำนาจกิเลส กรรม วิบาก เรียกว่าอะไร ?
ก.
วัฏฏะ
ข.
อาลัย
ค.
วิบาก
ง.
ตัณหา
๓๐.
ความหลุดพ้นด้วยข่มไว้นั้น หมายถึงข่มอะไร ?
ก.
ตัณหา
ข.
ราคะ
ค.
นิวรณ์
ง.
อนุสัย
๓๑.
พิจารณาเห็นสังขารอย่างไร จัดเป็นอุทยัพพยญาณ ?
ก.
เห็นว่าว่างเปล่า
ข.
เห็นว่าไม่เที่ยง
ค.
เห็นว่าเป็นทุกข์
ง.
เห็นว่าเป็นอนัตตา
๓๒.
หนทางนำสู่ความดับทุกข์ประเสริฐที่สุด คือข้อใด ?
ก.
วิมุตติ ๕
ข.
อริยทรัพย์ ๗
ค.
มรรค ๘
ง.
บุญกิริยาวัตถุ ๑๐
๓๓.
กิจในอริยสัจ ๔ ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ?
ก.
ทุกข์ควรละ
ข.
สมุทัยควรละ
ค.
นิโรธควรทำให้แจ้ง
ง.
มรรคควรเจริญ
๓๔.
ข้อใด ไม่ใช่สัมมาสังกัปปะ ?
ก.
คิดเลิกกาม
ข.
คิดเลิกพยาบาท
ค.
คิดฆ่าตัวตาย
ง.
คิดเลิกเบียดเบียน
๓๕.
ข้อใด ไม่ใช่สัมมากัมมันตะ ?
ก.
เว้นธุรกิจผิดกฎหมาย
ข.
เว้นลักฉ้อคอร์รัปชั่น
ค.
เว้นเจรจาหลอกลวง
ง.
เว้นธุรกิจค้าประเวณี
๓๖.
ข้อใด ไม่ใช่สัมมาวายามะ ?
ก.
พยายามระงับปัญหา
ข.
พยายามป้องกันปัญหา
ค.
พยายามหนีปัญหา
ง.
พยายามพัฒนาสิ่งดีงาม
๓๗.
ข้อใด ไม่นับเข้าในสัมมาสติ ?
ก.
เห็นว่าโลกเที่ยง
ข.
เห็นกายว่าไม่สวยงาม
ค.
เห็นจิตว่ามีความเกิดดับ
ง.
เห็นเวทนาว่าปรวนแปร
๓๘.
การเลี้ยงชีพโดยสุจริต งดเว้นทุจริต จัดเป็นวิสุทธิข้อใด ?
ก.
สีลวิสุทธิ
ข.
จิตตวิสุทธิ
ค.
ทิฏฐิวิสุทธิ
ง.
กังขาวิตรณวิสุทธิ
๓๙.
ข้อใด จัดเข้าในจิตตวิสุทธิ ?
ก.
สัมมาวาจา
ข.
สัมมากัมมันตะ
ค.
สัมมาอาชีวะ
ง.
สัมมาสติ
๔๐.
คนมักง่วงนอน ควรเจริญกัมมัฏฐานอะไร ?
ก.
กสิณ
ข.
มูลกัมมัฏฐาน
ค.
พรหมวิหาร
ง.
พุทธานุสสติ
๔๑.
ถ้ามีความคิดฟุ้งซ่านหรือคิดมาก ควรใช้กัมมัฏฐานข้อใด ?
ก.
กสิณ
ข.
อสุภะ
ค.
เมตตา
ง.
พุทธานุสสติ
๔๒.
คนลักษณะเช่นไร เรียกว่าสัทธาจริต ?
ก.
เชื่อเหตุผล
ข.
เชื่อง่าย
ค.
เชื่อตำรา
ง.
เชื่อมั่นตัวเอง
๔๓.
คนลักษณะเช่นไร เรียกว่ามีโทสจริต ?
ก.
หงุดหงิด
ข.
สงสัย
ค.
เจ้าระเบียบ
ง.
ท้อแท้
๔๔.
ข้อใด ไม่จัดเข้าในวิตกจริต ?
ก.
คิดฟุ้งซ่าน
ข.
คิดกังวล
ค.
โกรธง่าย
ง.
นอนไม่หลับ
๔๕.
ข้อใด เป็นอานิสงส์ของการเจริญเมตตา ?
ก.
ไม่มีเวรภัย
ข.
ไม่ประมาท
ค.
ไม่มีอคติ
ง.
ไม่กลัว
๔๖.
ข้อใด เป็นคำแผ่กรุณา ?
ก.
ขอสัตว์จงเป็นสุขเถิด
ข.
ขอสัตว์จงพ้นจากทุกข์เถิด
ค.
ขอสัตว์อย่าจองเวรกัน
ง.
ขอสัตว์จงอย่าเบียดเบียน
๔๗.
ข้อใด เป็นคำแผ่มุทิตา ?
ก.
ขอสัตว์จงเป็นสุขเถิด
ข.
ขอสัตว์จงมีสุขยิ่งขึ้นไป
ค.
ขอสัตว์มีทุกข์จงพ้นทุกข์
ง.
ขอสัตว์จงอย่ามีเวรกัน
๔๘.
ขณะกราบพระพุทธรูป ได้ชื่อว่าเจริญอนุสสติใด ?
ก.
พระพุทธานุสสติ
ข.
ธัมมานุสสติ
ค.
สังฆานุสสติ
ง.
สีลานุสสติ
๔๙.
วิปัสสนาคืออะไร ?
ก.
ความสงบ
ข.
ความรู้ในอารมณ์
ค.
ความสุขใจ
ง.
ความไม่ฟุ้งซ่าน
๕๐.
อะไรเป็นผลสูงสุดของวิปัสสนา ?
ก.
เห็นสังขารตามเป็นจริง
ข.
เห็นสังขารเกิดดับ
ค.
เห็นสังขารน่ากลัว
ง.
เห็นสังขารเป็นทุกข์
เอกสารอ้างอิง
เรื่องสอบธรรม ของสนามหลวงแผนกธรรม พ.ศ.๒๕๕๑. หน้า ๒๑๒-๒๒๐.
ข้อสอบสนามหลวง
พ.ศ. ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๑
พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๖๕
พ.ศ. ๒๕๖๖
พ.ศ. ๒๕๖๗
พ.ศ. ๒๕๖๘
พ.ศ. ๒๕๖๙
พ.ศ. ๒๕๗๐
พ.ศ. ๒๕๗๑
พ.ศ. ๒๕๗๒
พ.ศ. ๒๕๗๓
พ.ศ. ๒๕๗๔
พ.ศ. ๒๕๗๕
พ.ศ. ๒๕๗๖
พ.ศ. ๒๕๗๗
พ.ศ. ๒๕๗๘
พ.ศ. ๒๕๗๙
พ.ศ. ๒๕๘๐
พ.ศ. ๒๕๘๑
พ.ศ. ๒๕๘๒
พ.ศ. ๒๕๘๓
พ.ศ. ๒๕๘๔
พ.ศ. ๒๕๘๕
พ.ศ. ๒๕๘๖
พ.ศ. ๒๕๘๗
พ.ศ. ๒๕๘๘
พ.ศ. ๒๕๘๙
พ.ศ. ๒๕๙๐
พ.ศ. ๒๕๙๑
พ.ศ. ๒๕๙๒
พ.ศ. ๒๕๙๓
พ.ศ. ๒๕๙๔
พ.ศ. ๒๕๙๕
พ.ศ. ๒๕๙๖
พ.ศ. ๒๕๙๗
พ.ศ. ๒๕๙๘
พ.ศ. ๒๕๙๙
พ.ศ. ๒๖๐๐