ปัญหาและเฉลย
วิชาธรรม ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันศุกร์ ที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๙
เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๓.๕๐ น.
คำสั่ง :
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วกากบาท (X) ลงในช่อง
ของข้อที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑.
คำว่า “
โลก
” ในบาลีว่า “
เอถ ปสฺสถิมํ โลกํ
” หมายถึงข้อใด ?
ก.
แผ่นดินและหมู่สัตว์
ข.
แผ่นดินและจักรวาล
ค.
แผ่นดิน น้ำ อากาศ
ง.
หมู่มนุษย์และสัตว์
๒.
พระพุทธเจ้าตรัสสอนให้ดูโลกอย่างไร ?
ก.
ดูประโยชน์มิใช่ประโยชน์
ข.
ดูคุณและโทษ
ค.
ดูตามเป็นจริง
ง.
ดูว่าไม่มีแก่นสาร
๓.
ข้อใด เป็นพุทธประสงค์ให้มาดูโลก ?
ก.
เพื่อไม่ให้มัวเมาติดอยู่
ข.
เพื่ออยู่อย่างปลอดภัย
ค.
เพื่อความไม่ประมาท
ง.
เพื่อหาทางออกจากโลก
๔.
ทำอย่างไร จึงจะไม่ถูกเรียกว่า “
พวกคนเขลา
” ?
ก.
ต้องรู้ทันโลก
ข.
ต้องรู้โลกตามเป็นจริง
ค.
ต้องรู้โลกธรรม
ง.
ต้องรู้คดีโลกคดีธรรม
๕.
ทำอย่างไร ถึงจะไม่ข้องอยู่ในโลก ?
ก.
ไม่ติดในสิ่งล่อใจ
ข.
ไม่ยุ่งกับใคร
ค.
ปรารถนาไม่เกิดอีก
ง.
ออกบวช
๖.
ข้อใด มิใช่อาการสำรวมจิตตามหลักของนิพพิทา ?
ก.
สำรวมอินทรีย์ ๖
ข.
พิจารณาปัจจัย ๔
ค.
มนสิการกัมมัฏฐาน
ง.
เจริญวิปัสสนา
๗.
โดยตรง ท่านจัดอะไรเป็นมาร ?
ก.
กิเลสกาม
ข.
วัตถุกาม
ค.
กามกิเลส
ง.
กามตัณหา
๘.
เพราะเหตุไร จึงจัดว่าเป็นมาร ?
ก.
เพราะทำให้ติดใจ
ข.
เพราะทำให้หลง
ค.
เพราะล้างผลาญความดี
ง.
เพราะทำให้เป็นอันธพาล
๙.
กำจัดมารนั้นได้ ด้วยวิธีอย่างไร ?
ก.
สำรวมกาย วาจา ใจ
ข.
สำรวมจิต
ค.
ปิดปาก ปิดหู ปิดตา
ง.
ไม่รับรู้อารมณ์
๑๐.
การทำใจให้สงบเป็นสมาธิ จัดเป็นวิสุทธิใด ในวิสุทธิ ๗ ?
ก.
สีลวิสุทธิ
ข.
จิตตวิสุทธิ
ค.
ทิฏฐิวิสุทธิ
ง.
ญาณทัสสนวิสุทธิ
๑๑.
สังขารในปฏิปทาแห่งนิพพิทานั้น โดยตรงได้แก่อะไร ?
ก.
สังขารทั้งหมด
ข.
สังขารในขันธ์ ๕
ค.
ปัญจขันธ์
ง.
รูปขันธ์
๑๒.
นิพพิทานั้นเกิดขึ้นด้วยอะไร จึงเป็นนิพพิทาญาณ ?
ก.
เกิดด้วยปัญญา
ข.
เกิดด้วยฌาน
ค.
เกิดด้วยวิสุทธิ
ง.
เกิดด้วยสมาธิ
๑๓.
ข้อใด เป็นสมมติสัจจะ ?
ก.
สังขารไม่เที่ยง
ข.
สังขารเป็นทุกข์
ค.
ธรรมเป็นอนัตตา
ง.
มารดาบิดา
๑๔.
สังขารที่ผันแปรไปในระหว่าง เรียกว่าอะไร ?
ก.
อนิจจลักษณะ
ข.
ทุกขลักษณะ
ค.
อนัตตลักษณะ
ง.
ถูกทุกข้อ
๑๕.
ข้อใด เป็นความหมายของทุกข์ ?
ก.
สภาพที่เบียดเบียนสัตว์
ข.
สภาพอันปัจจัยปรุงแต่ง
ค.
สภาพไม่มีความยั่งยืน
ง.
ถูกทุกข้อ
๑๖.
ความหนาว ร้อน หิว กระหาย จัดเป็นทุกข์ข้อใด ?
ก.
สภาวทุกข์
ข.
นิพัทธทุกข์
ค.
วิปากทุกข์
ง.
พยาธิทุกข์
๑๗.
อวัยวะไม่ทำหน้าที่ตามปกติจนเกิดความทุกข์ เป็นทุกข์ข้อใด ?
ก.
สภาวทุกข์
ข.
นิพัทธทุกข์
ค.
วิปากทุกข์
ง.
พยาธิทุกข์
๑๘.
“
พูดโดยไม่คิด พ่นพิษใส่คนอื่น
” จัดเป็นทุกข์ข้อใด ?
ก.
สหคตทุกข์
ข.
วิวาทมูลกทุกข์
ค.
พยาธิทุกข์
ง.
นิพัทธทุกข์
๑๙.
วิปากทุกข์ หมายถึงทุกข์ข้อใด ?
ก.
ทุกข์เพราะเสวยผลกรรม
ข.
ทุกข์เพราะวิวาทกัน
ค.
ทุกข์เพราะเศรษฐกิจ
ง.
ทุกข์เพราะเจ็บป่วย
๒๐.
สันตาปทุกข์ ทุกข์เพราะใจร้อนรน เกิดจากอะไร ?
ก.
อารมณ์เครียด
ข.
ความผิดหวัง
ค.
ราคะเป็นต้นแผดเผา
ง.
วิตกจริตแผดเผา
๒๑.
ข้อใด เป็นสภาวทุกข์ ?
ก.
เกิด แก่ ตาย
ข.
ร้อน หิว กระหาย
ค.
โรค ภัย ไข้เจ็บ
ง.
ยากจน อดอยาก
๒๒.
ทุกข์ทั้งหมดรวมเรียกว่า ทุกขขันธ์ เกิดขึ้นเพราะสาเหตุใด ?
ก.
ขาดสติ
ข.
ขาดปัญญา
ค.
ความยึดมั่น
ง.
ความเห็นแก่ตัว
๒๓.
ข้อใด ช่วยบรรเทาความเศร้าโศกเสียใจได้ ?
ก.
ตั้งสติปล่อยวาง
ข.
ร้องไห้ดัง ๆ
ค.
ไปเที่ยวพักผ่อน
ง.
ฟังพระเทศน์
๒๔.
พึงปฏิบัติต่อสังขารอย่างไร ?
ก.
มีสติทุกเมื่อ
ข.
พิจารณาทุกเมื่อ
ค.
ศึกษาให้รู้จริง
ง.
ศึกษาตัวเอง
๒๕.
เห็นสังขารเป็นทุกข์แล้วเกิดอะไรขึ้น จึงเรียกนิพพิทา ?
ก.
เบื่อหน่าย
ข.
คลายกำหนัด
ค.
ปล่อยวาง
ง.
ปลงตก
๒๖.
เห็นว่า “
นั่นมิใช่เรา นั่นมิใช่ของเรา
” จัดเป็นอนัตตาในข้อใด ?
ก.
ไม่อยู่ในอำนาจ
ข.
แย้งต่ออัตตา
ค.
หาเจ้าของมิได้
ง.
เป็นสภาพสูญ
๒๗.
เพราะถูกอะไรปิดบังไว้ จึงไม่เห็นสังขารเป็นอนัตตา ?
ก.
อิริยาบถ
ข.
สันตติ
ค.
อนิจจสัญญา
ง.
ฆนสัญญา
๒๘.
เมื่อเกิดนิพพิทา ย่อมเป็นเหตุให้เกิดอะไรตามมา ?
ก.
ความหลุดพ้น
ข.
ความสิ้นกำหนัด
ค.
ความไม่ประมาท
ง.
ความบริสุทธิ์
๒๙.
อิริยาบถใด เหมาะแก่ผู้เริ่มเจริญกัมมัฏฐาน ?
ก.
ยืน เดิน
ข.
ยืน นอน
ค.
นั่ง เดิน
ง.
นั่ง นอน
๓๐.
ผู้ฝึกจิตจนช่ำชองแล้ว ควรใช้อิริยาบถใด ?
ก.
ยืน
ข.
เดิน
ค.
นั่ง
ง.
ทุกอิริยาบถ
๓๑.
อะไรเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้การเจริญกัมมัฏฐานไม่ได้ผล ?
ก.
ไม่ตั้งใจจริง
ข.
ปฏิบัติไม่ถูกวิธี
ค.
มีปลิโพธมาก
ง.
กัมมัฏฐานไม่ถูกจริต
๓๒.
สถานที่ใด เหมาะแก่ผู้เริ่มเจริญกัมมัฏฐาน ?
ก.
ป่าไม้
ข.
ป่าช้า
ค.
โคนไม้อันสงัด
ง.
ถูกทุกข้อ
๓๓.
ข้อใด มิใช่ความหมายของคำว่า “
พุทฺโธ
” ?
ก.
ผู้รู้
ข.
ผู้ตื่น
ค.
ผู้เบิกบาน
ง.
ผู้มีโชค
๓๔.
คนที่เห็นว่า “
ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว
” ตรงกับข้อใด ?
ก.
สัมมาสติ
ข.
สัมมาทิฏฐิ
ค.
สัมมาสมาธิ
ง.
สัมมาสังกัปปะ
๓๕.
ข้อใด จัดเข้าในจิตตวิสุทธิ ?
ก.
สัมมาวาจา
ข.
สัมมากัมมันตะ
ค.
สัมมาอาชีวะ
ง.
สัมมาสติ
๓๖.
ข้อใด เป็นอุบายดับกามฉันทนิวรณ์ ?
ก.
พิจารณาว่าไม่เที่ยง
ข.
พิจารณาว่าไม่งาม
ค.
พิจารณาสักว่าเป็นธาตุ
ง.
ถูกทุกข้อ
๓๗.
คนชอบง่วงนอน ควรเจริญกัมมัฏฐานอะไร ?
ก.
พรหมวิหาร
ข.
กสิณ
ค.
มูลกัมมัฏฐาน
ง.
พุทธานุสสติ
๓๘.
ข้อใด ตรงกับคำว่า “
จริต
” ความประพฤติเป็นไปของสัตว์โลก ?
ก.
อุปนิสัย
ข.
นิสัย
ค.
จิต
ง.
อารมณ์
๓๙.
คนสัทธาจริต มีลักษณะเช่นไร ?
ก.
เชื่อง่าย
ข.
เชื่อเหตุผล
ค.
เชื่อมั่นตัวเอง
ง.
เชื่ออาจารย์
๔๐.
กัมมัฏฐานข้อใด เหมาะแก่คนสัทธาจริต ?
ก.
พุทธานุสสติ
ข.
กายคตาสติ
ค.
มรณสติ
ง.
อุปสมานุสสติ
๔๑.
คนโทสจริต มักมีลักษณะเช่นไร ?
ก.
เครียดง่าย
ข.
หงุดหงิดง่าย
ค.
ฟุ้งซ่านง่าย
ง.
ใจน้อยง่าย
๔๒.
กัมมัฏฐานข้อใด เหมาะแก่คนโทสจริต ?
ก.
อสุภะ
ข.
อนุสสติ
ค.
กสิณ
ง.
พรหมวิหาร
๔๓.
คนวิตกจริต มีลักษณะเช่นไร ?
ก.
คิดฟุ้งซ่าน
ข.
กังวลไปทุกเรื่อง
ค.
นอนไม่ค่อยหลับ
ง.
ถูกทุกข้อ
๔๔.
กัมมัฏฐานข้อใด เหมาะแก่คนวิตกจริต ?
ก.
อานาปานสติ
ข.
มรณสติ
ค.
อสุภะ
ง.
พรหมวิหาร
๔๕.
ผู้เจริญมรณสติต้องประกอบด้วยองค์อะไรบ้าง จึงจะแยบคาย ?
ก.
ระลึกถึงความตาย
ข.
รู้ว่าต้องตายแน่
ค.
เกิดสังเวชสลดใจ
ง.
ถูกทุกข้อ
๔๖.
เจริญมรณสติอย่างไร ชื่อว่าไม่แยบคาย ?
ก.
ไม่กลัวตาย
ข.
เกิดความสังเวช
ค.
สะดุ้งหวาดผวา
ง.
กล้าเผชิญความตาย
๔๗.
พิจารณา เกสา โลมา… อย่างไร จึงจัดเป็นวิปัสสนา ?
ก.
ปฏิกูลน่าเกลียด
ข.
ไม่งามน่ารังเกียจ
ค.
เต็มไปด้วยซากศพ
ง.
ไม่จิรังต้องแตกสลาย
๔๘.
เหตุใด ท่านจึงสอนให้เจริญเมตตาในตนก่อน ?
ก.
เพื่อให้ตนเป็นพยาน
ข.
เพื่อให้รักตนมากๆ
ค.
เพื่อให้ตนเป็นที่รัก
ง.
เพื่อให้หมดโทสะ
๔๙.
สติกำหนดพิจารณาใจที่เศร้าหมองหรือผ่องแผ้วเป็นอารมณ์ว่า
“
ใจนี้สักว่าใจ
…” จัดเข้าในสติปัฏฐานข้อใด ?
ก.
กายานุปัสสนา
ข.
เวทนานุปัสสนา
ค.
จิตตานุปัสสนา
ง.
ธัมมานุปัสสนา
๕๐.
พิจารณาธาตุ ๔ อย่างไร จึงจัดเป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน ?
ก.
พิจารณาสักว่าเป็นธาตุ
ข.
พิจารณาว่าว่างเปล่า
ค.
พิจารณาว่าไม่เที่ยง
ง.
ถูกทุกข้อ
เอกสารอ้างอิง
เรื่องสอบธรรม ของสนามหลวงแผนกธรรม พ.ศ.๒๕๔๙. หน้า ๒๔ู๑-๒๕๑.
ข้อสอบสนามหลวง
พ.ศ. ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๑
พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๖๕
พ.ศ. ๒๕๖๖
พ.ศ. ๒๕๖๗
พ.ศ. ๒๕๖๘
พ.ศ. ๒๕๖๙
พ.ศ. ๒๕๗๐
พ.ศ. ๒๕๗๑
พ.ศ. ๒๕๗๒
พ.ศ. ๒๕๗๓
พ.ศ. ๒๕๗๔
พ.ศ. ๒๕๗๕
พ.ศ. ๒๕๗๖
พ.ศ. ๒๕๗๗
พ.ศ. ๒๕๗๘
พ.ศ. ๒๕๗๙
พ.ศ. ๒๕๘๐
พ.ศ. ๒๕๘๑
พ.ศ. ๒๕๘๒
พ.ศ. ๒๕๘๓
พ.ศ. ๒๕๘๔
พ.ศ. ๒๕๘๕
พ.ศ. ๒๕๘๖
พ.ศ. ๒๕๘๗
พ.ศ. ๒๕๘๘
พ.ศ. ๒๕๘๙
พ.ศ. ๒๕๙๐
พ.ศ. ๒๕๙๑
พ.ศ. ๒๕๙๒
พ.ศ. ๒๕๙๓
พ.ศ. ๒๕๙๔
พ.ศ. ๒๕๙๕
พ.ศ. ๒๕๙๖
พ.ศ. ๒๕๙๗
พ.ศ. ๒๕๙๘
พ.ศ. ๒๕๙๙
พ.ศ. ๒๖๐๐