ปัญหาและเฉลย
วิชาธรรม ธรรมศึกษาชั้นโท
สอบในสนามหลวง
วันพุธ ที่ ๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๗
เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๓.๕๐ น.
คำสั่ง :
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑.
พระอริยบุคคลชั้นใด ชื่อว่า พระอเสขะ ?
ก.
พระโสดาบัน
ข.
พระสกทาคามี
ค.
พระอนาคามี
ง.
พระอรหันต์
๒.
การกระทำในข้อใด เป็นอุบายสงบใจ ?
ก.
พิจารณาสังขารว่า
ไม่เที่ยง
ข.
พิจารณาสังขารว่า
เป็นทุกข์
ค.
พิจารณาสังขารว่า
เป็นอสุภะ
ง.
พิจารณาสังขารว่า
ไม่ใช่ตัวตน
๓.
การปฏิบัติตามคำสั่งสอนของครูอาจารย์ จัดเป็นบูชาใด ?
ก.
อามิสบูชา
ข.
ปฏิบัติบูชา
ค.
ธัมมบูชา
ง.
สักการบูชา
๔.
การมอบไมตรีแก่ผู้มาเยือนลักษณะใด เรียกว่าธัมมปฏิสันถาร ?
ก.
นำน้ำมาให้ดื่ม
ข.
จัดหมากพลูไว้ให้
ค.
กล่าวธรรมให้ฟัง
ง.
มอบพระเครื่องให้
๕.
คนที่มีพยาบาทวิตก มักมีพฤติกรรมเช่นไร ?
ก.
ออกล่าสัตว์ในป่า
ข.
ผูกใจเจ็บที่ถูกรังแก
ค.
ชอบยกพวกตีกัน
ง.
คิดอยากได้ของคนอื่น
๖.
กุศลวิตกข้อใด เป็นปฏิปักข์ต่อกามวิตก ?
ก.
เนกขัมมวิตก
ข.
อพยาบาทวิตก
ค.
อวิหิงสาวิตก
ง.
ถูกทุกข้อ
๗.
คนที่ไม่รู้จักบาปบุญคุณโทษ เพราะถูกไฟกองใดเผา ?
ก.
ไฟราคะ
ข.
ไฟโทสะ
ค.
ไฟโมหะ
ง.
ไฟธาตุ
๘.
ข่าวฆ่ากันตายเพราะอารมณ์โกรธ สาเหตุเกิดจากไฟกองใด ?
ก.
ไฟตัณหา
ข.
ไฟโมหะ
ค.
ไฟราคะ
ง.
ไฟโทสะ
๙.
คนที่คล้อยตามกระแสนิยมของสังคม ตรงกับอธิปเตยยะข้อใด ?
ก.
โลกาธิปเตยยะ
ข.
อัตตาธิปเตยยะ
ค.
ธัมมาธิปเตยยะ
ง.
ไม่ใช่อธิปเตยยะ
๑๐.
ปัญญาหยั่งรู้ว่า การเกิดเป็นทุกข์ จัดเป็นญาณอะไร ?
ก.
สัจจญาณ
ข.
กิจจญาณ
ค.
กตญาณ
ง.
มรรคญาณ
๑๑.
“อยากเป็นสะใภ้นายก” จัดเป็นตัณหาใด ?
ก.
กามตัณหา
ข.
ภวตัณหา
ค.
วิภวตัณหา
ง.
สิ้นตัณหา
๑๒.
อนุปาทินนกสังขาร สังขารไม่มีใจครอง ตรงกับข้อใด ?
ก.
มนุษย์
ข.
อมนุษย์
ค.
ต้นไม้
ง.
เทวดา
๑๓.
ในเรื่องปาฏิหาริย์ พระพุทธเจ้าทรงยกย่องปาฏิหาริย์ใด ?
ก.
อิทธิปาฏิหาริย์
ข.
อาเทสนาปาฏิหาริย์
ค.
อนุสาสนีปาฏิหาริย์
ง.
ถูกทุกข้อ
๑๔.
คำว่า “วิสุทธิเทพ” สำหรับใช้เรียกใคร ?
ก.
พระเจ้าแผ่นดิน
ข.
พระอรหันต์
ค.
พระภูมิเจ้าที่
ง.
พระอินทร์
๑๕.
พุทธจริยาข้อใด ทรงประพฤติให้เป็นประโยชน์แก่ชาวโลก ?
ก.
ช่วยคนให้พ้นทุกข์
ข.
บัญญัติสิกขาบท
ค.
เทศน์โปรดพระญาติ
ง.
ประกาศคำสอน
๑๖.
สวรรค์ทั้ง ๖ ชั้น ชั้นใดจัดว่าต่ำที่สุด ?
ก.
ดุสิต
ข.
ดาวดึงส์
ค.
นิมมานรดี
ง.
จาตุมมหาราชิกา
๑๗.
การสวดมนต์ให้จิตสงบจากความฟุ้งซ่าน จัดเป็นวิเวกใด ?
ก.
กายวิเวก
ข.
จิตตวิเวก
ค.
อุปธิวิเวก
ง.
ถูกทุกข้อ
๑๘.
การฝึกหัดในข้อใด จัดเป็นศีลสิกขา ?
ก.
การรักษามารยาททางกาย
ข.
การรักษาจิตให้อยู่ในอำนาจ
ค.
การรอบรู้สภาวธรรมทั้งปวง
ง.
การรักษาใจไม่ให้เศร้าหมอง
๑๙.
เมื่อรู้ว่า “
คบคนพาล พาลพาไปหาผิด
” พึงปฏิบัติตนตาม
หลักอปัสเสนธรรมข้อใด ?
ก.
พิจารณาแล้วเสพ
ข.
พิจารณาแล้วเว้น
ค.
พิจารณาแล้วอดกลั้น
ง.
พิจารณาแล้วบรรเทา
๒๐.
คำว่า “
โสมนัส
” ในเวทนา ๕ หมายเอาเวทนาในข้อใด ?
ก.
ทุกข์ใจ
ข.
ทุกข์กาย
ค.
สุขใจ
ง.
สุขกาย
๒๑.
ผู้ปรารถนาให้คนอื่นมีความสุขความเจริญ โดยไม่เจาะจงว่าใคร
จัดเป็นอัปปมัญญา ข้อใด ?
ก.
เมตตา
ข.
กรุณา
ค.
มุทิตา
ง.
อุเบกขา
๒๒.
ผู้ที่เห็นคนอื่นได้ดีแล้วมีจิตริษยา ชื่อว่าไม่มีอัปปมัญญาข้อใด ?
ก.
เมตตา
ข.
กรุณา
ค.
มุทิตา
ง.
อุเบกขา
๒๓.
เมื่อไม่รู้ในทุกข์ ย่อมไม่รู้อะไร อันเป็นเหตุให้เกิดทุกข์ ?
ก.
ทุกข์
ข.
สมุทัย
ค.
นิโรธ
ง.
มรรค
๒๔.
นิกายเถรวาทในประเทศไทย ไม่มีพุทธบริษัทใด ?
ก.
ภิกษุ
ข.
ภิกษุณี
ค.
อุบาสก
ง.
อุบาสิกา
๒๕.
นักเรียนที่ต้องฟังครูอธิบายบทเรียนตั้งหลายครั้ง จึงจะเข้าใจ
จัดเป็นบุคคลประเภทใด ?
ก.
อุคฆติตัญญู
ข.
วิปจิตัญญู
ค.
เนยยะ
ง.
ปทปรมะ
๒๖.
คนถูกโอฆะคืออวิชชาครอบงำ มีลักษณะเช่นไร ?
ก.
ชอบถือศีลฟังเทศน์
ข.
เชื่อกรรมลิขิต
ค.
ไม่ถือมงคลตื่นข่าว
ง.
ไม่รู้วิธีดับทุกข์
๒๗.
คนที่มีจิตใจตระหนี่ ควรฟังอนุปุพพีกถาข้อใด ?
ก.
ทานกถา
ข.
สีลกถา
ค.
สัคคกถา
ง.
กามาทีนวกถา
๒๘.
อนุปุพพีกถา ข้อใดสนับสนุนส่งเสริมการไม่เบียดเบียนกัน ?
ก.
ทานกถา
ข.
สีลกถา
ค.
สัคคกถา
ง.
กามาทีนวกถา
๒๙.
คนหวงความดี กลัวคนอื่นจะดีกว่า ชื่อว่าตระหนี่อะไร ?
ก.
ตระกูล
ข.
ที่อยู่
ค.
วรรณะ
ง.
ลาภ
๓๐.
คนที่ไม่รู้จักแบ่งปัน หวงไว้บริโภคคนเดียว เพราะตระหนี่อะไร ?
ก.
ตระกูล
ข.
ลาภ
ค.
วรรณะ
ง.
ธรรม
๓๑.
มัจฉริยะ ความตระหนี่หวงแหน มีอะไรเป็นสมุฏฐาน ?
ก.
มานะ
ข.
โทสะ
ค.
โมหะ
ง.
โลภะ
๓๒.
“
ถูกยั่วโทสะ ยิงไม่ยั้ง
” เพราะถูกมารข้อใดครอบงำ ?
ก.
ขันธมาร
ข.
กิเลสมาร
ค.
มัจจุมาร
ง.
เทวปุตตมาร
๓๓.
รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ จัดเข้าในมารข้อใด ?
ก.
มัจจุมาร
ข.
เทวปุตตมาร
ค.
ขันธมาร
ง.
อภิสังขารมาร
๓๔.
คนที่ถือมงคลตื่นข่าว ชอบเชื่อข่าวลือ จัดเป็นคนมีจริตใด ?
ก.
ราคจริต
ข.
วิตกจริต
ค.
โมหจริต
ง.
สัทธาจริต
๓๕.
อสุภกัมมัฏฐาน ๑๐ อย่าง เหมาะสำหรับคนมีจริตใด ?
ก.
ราคจริต
ข.
โทสจริต
ค.
วิตกจริต
ง.
สัทธาจริต
๓๖.
คนจะมีความรู้คู่คุณธรรมได้นั้น พึงประพฤติอนุโลมตามพุทธคุณ
ข้อใด ?
ก.
สมฺมาสมฺพุทฺโธ
ข.
วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน
ค.
สุคโต โลกวิทู
ง.
สตฺถา เทวมนุสฺสานํ
๓๗.
ธรรมคุณข้อว่า “
ปจฺจตฺตํ เวทิตพฺโพ วิญฺญูหิ
” ตรงกับข้อใด ?
ก.
ผู้บรรลุย่อมเห็นผลเองรู้เอง
ข.
ไม่ต้องเชื่อตามคำพูดคนอื่น
ค.
อันวิญญูพึงรู้แจ้งเฉพาะตน
ง.
ผู้ไม่ใช่วิญญูพึงรู้แจ้งไม่ได้
๓๘.
สังฆคุณบทว่า “
อญฺชลิกรณีโย
” ตรงกับข้อใด ?
ก.
ผู้ควรของคำนับ
ข.
ผู้ควรของต้อนรับ
ค.
ผู้ควรของทำบุญ
ง.
ผู้ควรทำอัญชลี
๓๙.
พระสงฆ์ได้ชื่อว่า อุชุปฏิปนฺโน เพราะปฏิบัติตนเช่นไร ?
ก.
ปฏิบัติดีแล้ว
ข.
ปฏิบัติไม่ลวงโลก
ค.
ปฏิบัติเป็นธรรม
ง.
ปฏิบัติสมควร
๔๐.
การปฏิบัติตามพุทธคุณข้อ สุคโต ย่อมเกิดประโยชน์อย่างไร ?
ก.
เป็นผู้ควรแนะนำสั่งสอนเขา
ข.
รู้จักอัธยาศัยของคนต่างถิ่น
ค.
รู้จักถิ่นฐานบ้านเมืองต่างๆ
ง.
เมื่อไปที่ใดที่นั้นเจริญรุ่งเรือง
๔๑.
หากจะเปรียบวิสุทธิ ๗ เหมือนกับบันได ๗ ขั้น บันไดขั้นแรก
ตรงกับข้อใด ?
ก.
จิตตวิสุทธิ
ข.
ทิฏฐิวิสุทธิ
ค.
สีลวิสุทธิ
ง.
ญาณทัสสนวิสุทธิ
๔๒.
ผู้ที่เจริญสมาธิจนได้บรรลุฌาน จัดเป็นวิสุทธิข้อใด ?
ก.
จิตตวิสุทธิ
ข.
กังขาวิตรณวิสุทธิ
ค.
สีลวิสุทธิ
ง.
ญาณทัสสนวิสุทธิ
๔๓.
การไม่รู้ว่า “
ชรามรณะเป็นต้นมีเพราะชาติ ชาติมีเพราะภพ
”
จัดเป็นอวิชชาข้อใด ?
ก.
ไม่รู้จักความดับทุกข์
ข.
ไม่รู้จักปฏิจจสมุปบาท
ค.
ไม่รู้จักอดีตและอนาคต
ง.
ไม่รู้จักอดีตและปัจจุบัน
๔๔.
คนที่ตั้งใจแน่วแน่ว่า จะไม่ดื่มสุรา ชื่อว่าบำเพ็ญบารมีใด ?
ก.
ขันติบารมี
ข.
อุเบกขาบารมี
ค.
ศีลบารมี
ง.
อธิษฐานบารมี
๔๕.
ชาดกใด กล่าวถึงการบำเพ็ญวิริยบารมี ?
ก.
มหาชนกชาดก
ข.
เวสสันดรชาดก
ค.
เตมิยชาดก
ง.
เนมิราชชาดก
๔๖.
ชาดกใด กล่าวถึงการบำเพ็ญทานบารมี ?
ก.
มหาชนกชาดก
ข.
จันทกุมารชาดก
ค.
เวสสันดรชาดก
ง.
สุวรรณสามชาดก
๔๗.
การบริจาคโลหิตช่วยเหลือผู้ป่วย จัดเป็นบารมีใด ?
ก.
ทานบารมี
ข.
ทานอุปบารมี
ค.
เมตตาบารมี
ง.
เมตตาอุปบารมี
๔๘.
คนบางคนทำกรรมชั่ว แต่ยังคงได้รับความสุขความเจริญอยู่
เพราะเหตุใด ?
ก.
เพราะกรรมดีที่เคยทำ
กำลังให้ผลอยู่
ข.
เพราะกรรมชั่วที่ทำ
ยังไม่ได้ช่องให้ผล
ค.
เพราะกรรมดียังมีกำลัง
มากกว่า
ง.
ถูกทุกข้อ
๔๙.
กรรมที่ทำเมื่อจวนจะตาย เรียกว่ากรรมอะไร ?
ก.
อาสันนกรรม
ข.
อโหสิกรรม
ค.
ครุกรรม
ง.
พหุลกรรม
๕๐.
ผู้ประสบอุบัติเหตุตายก่อนอายุขัย เพราะกรรมใดให้ผล ?
ก.
อุปปีฬกกรรม
ข.
ชนกกรรม
ค.
อุปฆาตกรรม
ง.
พหุลกรรม
เอกสารอ้างอิง
เรื่องสอบธรรม ของสนามหลวงแผนกธรรม พ.ศ.๒๕๔๗. หน้า ๑๑๕-๑๒๓.
ข้อสอบสนามหลวง
พ.ศ. ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๑
พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๖๕
พ.ศ. ๒๕๖๖
พ.ศ. ๒๕๖๗
พ.ศ. ๒๕๖๘
พ.ศ. ๒๕๖๙
พ.ศ. ๒๕๗๐
พ.ศ. ๒๕๗๑
พ.ศ. ๒๕๗๒
พ.ศ. ๒๕๗๓
พ.ศ. ๒๕๗๔
พ.ศ. ๒๕๗๕
พ.ศ. ๒๕๗๖
พ.ศ. ๒๕๗๗
พ.ศ. ๒๕๗๘
พ.ศ. ๒๕๗๙
พ.ศ. ๒๕๘๐
พ.ศ. ๒๕๘๑
พ.ศ. ๒๕๘๒
พ.ศ. ๒๕๘๓
พ.ศ. ๒๕๘๔
พ.ศ. ๒๕๘๕
พ.ศ. ๒๕๘๖
พ.ศ. ๒๕๘๗
พ.ศ. ๒๕๘๘
พ.ศ. ๒๕๘๙
พ.ศ. ๒๕๙๐
พ.ศ. ๒๕๙๑
พ.ศ. ๒๕๙๒
พ.ศ. ๒๕๙๓
พ.ศ. ๒๕๙๔
พ.ศ. ๒๕๙๕
พ.ศ. ๒๕๙๖
พ.ศ. ๒๕๙๗
พ.ศ. ๒๕๙๘
พ.ศ. ๒๕๙๙
พ.ศ. ๒๖๐๐