๑. |
หลักธรรมเบื้องต้นเพื่อบรรลุผลสูงสุดคือพระนิพพาน คืออะไร ? |
|
ก. |
ทาน |
ข. |
ศีล |
|
ค. |
สมาธิ |
ง. |
ปัญญา |
|
|
|
|
|
๒. |
อะไรเป็นอุปสรรคในการรักษาศีลของคนทั่วไป ? |
|
ก. |
ความทุพลภาพ |
ข. |
ความแก่ชรา |
|
ค. |
ความเจ็บป่วย |
ง. |
ความไม่กลัวบาป |
|
|
|
|
|
๓. |
อุโบสถศีล บัญญัติขึ้นด้วยวัตถุประสงค์ใด ? |
|
ก. |
เพื่อทำกิจทางพระพุทธ-
ศาสนา |
ข. |
เพื่อหยุดการงานของ
คฤหัสถ์ |
|
ค. |
เพื่อขัดเกลากิเลสอย่างหยาบ |
ง. |
ถูกทุกข้อ |
|
|
|
|
|
๔. |
อุโบสถศีล บัญญัติขึ้นเพื่อกลุ่มบุคคลใด ? |
|
ก. |
ประชาชนทั่วไป |
ข. |
เจ้าลัทธินอกศาสนา |
|
ค. |
อุบาสกอุบาสิกา |
ง. |
นักบวชนอกศาสนา |
|
|
|
|
|
๕. |
อุโบสถ มีคำแปลว่าอะไร ? |
|
ก. |
การจำพรรษา |
ข. |
การเข้าจำ |
|
ค. |
การจำศีล |
ง. |
การจำวัด |
|
|
|
|
|
๖. |
กษัตริย์พระองค์ใด ปรารภการถืออุโบสถศีลในพระพุทธศาสนา ? |
|
ก. |
พระเจ้าพรหมทัต |
ข. |
พระเจ้าอชาตศัตรู |
|
ค. |
พระเจ้าพิมพิสาร |
ง. |
พระเจ้าสุทโธทนะ |
|
|
|
|
|
๗. |
ธรรมเนียมการรักษาอุโบสถ ถือปฏิบัติกันมาตั้งแต่เมื่อไร ? |
|
ก. |
ก่อนพุทธกาล |
ข. |
สมัยพุทธกาล |
|
ค. |
หลังพุทธกาล |
ง. |
หลังสังคายนา |
|
|
|
|
|
๘. |
สรณตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ ตรงกับข้อใด ? |
|
ก. |
พระพุทธรูป |
ข. |
พระศักดิ์สิทธิ์ |
|
ค. |
พระประจำวัน |
ง. |
พระรัตนตรัย |
|
|
|
|
|
๙. |
สรณคมน์ มีความหมายตรงกับข้อใด ? |
|
ก. |
การถือเอาเป็นที่พึ่ง |
ข. |
การยึดมั่นถือมั่น |
|
ค. |
การถือเป็นอารมณ์ |
ง. |
การถือฤกษ์ยาม |
|
|
|
|
|
๑๐. |
คำว่า สรณะกำจัดภัย หมายถึงภัยในข้อใด ? |
|
ก. |
โรคภัย |
ข. |
อุทกภัย |
|
ค. |
โจรภัย |
ง. |
กิเลสภัย |
|
|
|
|
|
๑๑. |
คำว่า พุทธะ มีความหมายตรงกับข้อใด ? |
|
ก. |
ผู้ตรัสรู้ |
ข. |
ผู้รู้แจ้งโลก |
|
ค. |
ผู้อดทน |
ง. |
ผู้สิ้นกิเลส |
|
|
|
|
|
๑๒. |
อบาย ในคำว่า ธรรมรักษาผู้ปฏิบัติไม่ให้ตกอบาย ตรงกับข้อใด ? |
|
ก. |
นรกภูมิ |
ข. |
มนุษยโลก |
|
ค. |
เทวโลก |
ง. |
พรหมโลก |
|
|
|
|
|
๑๓. |
พระสงฆ์ในเรื่องสรณคมน์ หมายถึงข้อใด ? |
|
ก. |
พระประธาน |
ข. |
พระเถระ |
|
ค. |
พระประจำวัน |
ง. |
พระอริยะ |
|
|
|
|
|
๑๔. |
มีศีลเสมอกัน มีทิฏฐิเสมอกัน เป็นคุณสมบัติของใคร ? |
|
ก. |
พระพุทธเจ้า |
ข. |
พระธรรม |
|
ค. |
พระสงฆ์ |
ง. |
ถูกทุกข้อ |
|
|
|
|
|
๑๕. |
เพราะเหตุใด พระสงฆ์ จึงได้ชื่อว่าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก ? |
|
ก. |
ถึงพร้อมด้วยวิชาจรณะ |
ข. |
เป็นผู้สอนเทวดามนุษย์ |
|
ค. |
เป็นนาบุญอันประเสริฐ |
ง. |
เป็นผู้ห่างไกลจากกิเลส |
|
|
|
|
|
๑๖. |
ข้อใด ไม่ใช่สาเหตุการขาดสรณคมน์ ? |
|
ก. |
ความตาย |
ข. |
ทำร้ายพระศาสดา |
|
ค. |
ความเมา |
ง. |
ไปนับถือศาสดาอื่น |
|
|
|
|
|
๑๗. |
การขาดสรณคมน์ ย่อมเกิดขึ้นในบุคคลประเภทใด ? |
|
ก. |
ปุถุชนทั่วไป |
ข. |
พระโสดาบัน |
|
ค. |
พระอนาคามี |
ง. |
พระอรหันต์ |
|
|
|
|
|
๑๘. |
การขาดสรณคมน์ข้อใด ไม่เป็นเหตุให้ตกไปในทุคติภูมิ ? |
|
ก. |
ทำร้ายพระศาสดา |
ข. |
ความตาย |
|
ค. |
ไปนับถือศาสดาอื่น |
ง. |
ถูกทุกข้อ |
|
|
|
|
|
๑๙. |
สรณคมน์เศร้าหมองเพราะความไม่เอื้อเฟื้อ ตรงกับข้อใด ? |
|
ก. |
ขโมยพระพุทธรูป |
ข. |
สงสัยบุญบาป |
|
ค. |
ตั้งตนเป็นศาสดา |
ง. |
สงสัยชาติหน้า |
|
|
|
|
|
๒๐. |
อุโบสถนอกพุทธกาล คนส่วนใหญ่นิยมรักษาด้วยวิธีใด ? |
|
ก. |
งดอาหาร |
ข. |
งดฆ่าสัตว์ |
|
ค. |
งดแต่งตัว |
ง. |
งดดูมหรสพ |
|
|
|
|
|
๒๑. |
อุโบสถนอกพุทธกาลกับสมัยพุทธกาล เหมือนกันในข้อใด ? |
|
ก. |
รับสรณคมน์ |
ข. |
สมาทานศีล |
|
ค. |
งดเว้นอาหาร |
ง. |
รักษาศีล ๘ |
|
|
|
|
|
๒๒. |
หากรักษาปฏิชาครอุโบสถวันพระ ๘ ค่ำ วันส่งจะเป็นวันกี่ค่ำ ? |
|
ก. |
๖ ค่ำ |
ข. |
๗ ค่ำ |
|
ค. |
๘ ค่ำ |
ง. |
๙ ค่ำ |
|
|
|
|
|
๒๓. |
การรักษาอุโบสถประเภทใด กำหนดเวลาเป็นเกณฑ์ ? |
|
ก. |
โคปาลกอุโบสถ |
ข. |
ปกติอุโบสถ |
|
ค. |
นิคคัณฐอุโบสถ |
ง. |
อริยอุโบสถ |
|
|
|
|
|
๒๔. |
การรักษาอุโบสถประเภทใด กำหนดอานิสงส์เป็นเกณฑ์ ? |
|
ก. |
ปกติอุโบสถ |
ข. |
ปฏิชาครอุโบสถ |
|
ค. |
อริยอุโบสถ |
ง. |
ปาฏิหาริยอุโบสถ |
|
|
|
|
|
๒๕. |
ปกติอุโบสถที่นิยมรักษากันอยู่ทุกวันนี้ เดือนหนึ่งมีกี่ครั้ง ? |
|
ก. |
๒ ครั้ง |
ข. |
๔ ครั้ง |
|
ค. |
๖ ครั้ง |
ง. |
๘ ครั้ง |
|
|
|
|
|
๒๖. |
อุโบสถประเภทใด กำหนดให้รักษาคราวละ ๓ วัน ? |
|
ก. |
ปกติอุโบสถ |
ข. |
ปฏิชาครอุโบสถ |
|
ค. |
อริยอุโบสถ |
ง. |
นิคคัณฐอุโบสถ |
|
|
|
|
|
๒๗. |
อุโบสถประเภทใด กำหนดให้รักษาคราวละ ๔ เดือน ? |
|
ก. |
โคปาลกอุโบสถ |
ข. |
ปฏิชาครอุโบสถ |
|
ค. |
ปาฏิหาริยอุโบสถ |
ง. |
นิคคัณฐอุโบสถ |
|
|
|
|
|
๒๘. |
รู้ว่ามีเจ้าของหวง เป็นองค์แห่งอุโบสถศีลข้อใด ? |
|
ก. |
สิกขาบทที่ ๑ |
ข. |
สิกขาบทที่ ๒ |
|
ค. |
สิกขาบทที่ ๖ |
ง. |
สิกขาบทที่ ๗ |
|
|
|
|
|
๒๙. |
อุโบสถศีลข้อใด ขาดเพราะประพฤติเกี่ยวข้องในกาม ? |
|
ก. |
สิกขาบทที่ ๑ |
ข. |
สิกขาบทที่ ๒ |
|
ค. |
สิกขาบทที่ ๓ |
ง. |
สิกขาบทที่ ๖ |
|
|
|
|
|
๓๐. |
อุโบสถศีลข้อใด ขาดเพราะประพฤติผิดทางวาจา ? |
|
ก. |
สิกขาบทที่ ๒ |
ข. |
สิกขาบทที่ ๔ |
|
ค. |
สิกขาบทที่ ๖ |
ง. |
สิกขาบทที่ ๘ |
|
|
|
|
|
๓๑. |
อุโบสถศีลข้อที่ ๓ ห้ามผู้สมาทานกระทำเรื่องใด ? |
|
ก. |
การล่วงประเวณี |
ข. |
การร้องเพลง |
|
ค. |
การดื่มสุราเมรัย |
ง. |
การอดอาหาร |
|
|
|
|
|
๓๒. |
อุโบสถศีลข้อที่ ๖ เวลาเที่ยงแล้วถึงก่อนอรุณขึ้น เรียกว่าอะไร ? |
|
ก. |
กาล |
ข. |
กาลเทศะ |
|
ค. |
วิกาล |
ง. |
กาลกิริยา |
|
|
|
|
|
๓๓. |
อาหารประเภทใด ห้ามคนถืออุโบสถศีลรับประทานในยามวิกาล ? |
|
ก. |
สมอ |
ข. |
มะขามเทศ |
|
ค. |
เนย |
ง. |
มะขามป้อม |
|
|
|
|
|
๓๔. |
อุโบสถศีลข้อที่ ๗ ห้ามผู้สมาทานกระทำเรื่องใด ? |
|
ก. |
พูดปด |
ข. |
เสพกาม |
|
ค. |
แต่งตัว |
ง. |
ลักของ |
|
|
|
|
|
๓๕. |
การห้ามคนถืออุโบสถศีลตกแต่งร่างกายในขณะรักษาอุโบสถ
เพื่อจุดประสงค์ใด ?
|
|
ก. |
บรรเทาความยินดีใน
นามกาย |
ข. |
บรรเทาความมัวเมาใน
รูปกาย |
|
ค. |
บรรเทาความยึดมั่นใน
เวทนา |
ง. |
บรรเทาความพอใจใน
ลาภยศ |
|
|
|
|
|
๓๖. |
ปัจจุบัน คนส่วนใหญ่นิยมสมาทานอุโบสถศีลที่ไหน ? |
|
ก. |
บ้านตนเอง |
ข. |
บ้านคนทรงเจ้า |
|
ค. |
โรงเจทั่วไป |
ง. |
วัดทั่วไป |
|
|
|
|
|
๓๗. |
ในวันอุโบสถ ควรสมาทานอุโบสถศีลเวลาใด ? |
|
ก. |
เวลาเช้า |
ข. |
เวลาเที่ยงวัน |
|
ค. |
เวลาบ่าย |
ง. |
เวลากลางคืน |
|
|
|
|
|
๓๘. |
คำว่า อิมินา สกฺกาเรน ตํ ภควนฺตํ อภิปูชยาม เป็นคำกล่าวบูชา
พระรัตนตรัยใด ?
|
|
ก. |
พระพุทธเจ้า |
ข. |
พระธรรม |
|
ค. |
พระสงฆ์ |
ง. |
ถูกทุกข้อ |
|
|
|
|
|
๓๙. |
คำว่า อชฺช โภนฺโต ปกฺขสฺส อฏฺฐมี ทิวโส ... เป็นคำกล่าวอะไร ? |
|
ก. |
สมาทานศีล ๘ |
ข. |
คำประกาศอุโบสถ |
|
ค. |
อาราธนาธรรม |
ง. |
กราบพระรัตนตรัย |
|
|
|
|
|
๔๐. |
วันปัณณรสีในคำประกาศอุโบสถ หมายถึงวันกี่ค่ำ ? |
|
ก. |
วัน ๘ ค่ำ |
ข. |
วัน ๙ ค่ำ |
|
ค. |
วัน ๑๔ ค่ำ |
ง. |
วัน ๑๕ ค่ำ |
|
|
|
|
|
|
ศาสนพิธี |
|
|
|
|
|
๔๑. |
ข้อใด กำหนดให้กระทำต่อจากคำประกาศอุโบสถ ? |
|
ก. |
อาราธนาศีล |
ข. |
รับสรณคมน์ |
|
ค. |
รับศีลอุโบสถ |
ง. |
ถือศีลอุโบสถ |
|
|
|
|
|
๔๒. |
เรื่องที่ไม่ควรนำมาพูดในขณะถืออุโบสถศีล เรียกว่าอะไร ? |
|
ก. |
อนุปุพพีกถา |
ข. |
อริยมรรคกถา |
|
ค. |
ติรัจฉานกถา |
ง. |
อนุโมทนากถา |
|
|
|
|
|
๔๓. |
อุโบสถประเภทใด กำหนดข้อห้ามบางเรื่องไม่ห้ามบางเรื่อง ? |
|
ก. |
ปกติอุโบสถ |
ข. |
โคปาลกอุโบสถ |
|
ค. |
อริยอุโบสถ |
ง. |
นิคคัณฐอุโบสถ |
|
|
|
|
|
๔๔. |
อุโบสถประเภทใด ตรัสว่ามีอานิสงส์มากที่สุด ? |
|
ก. |
โคปาลกอุโบสถ |
ข. |
อริยอุโบสถ |
|
ค. |
นิคคัณฐอุโบสถ |
ง. |
ถูกทุกข้อ |
|
|
|
|
|
๔๕. |
อุโบสถประเภทใด ตรัสว่าเป็นการปฏิบัติตามพระอรหันต์ ? |
|
ก. |
อริยอุโบสถ |
ข. |
โคปาลกอุโบสถ |
|
ค. |
ปกติอุโบสถ |
ง. |
นิคคัณฐอุโบสถ |
|
|
|
|
|
๔๖. |
คำว่า มีถ้อยคำมั่นคง ในอุโบสถสูตร ตรงกับข้อใด ? |
|
ก. |
ละปาณาติบาต |
ข. |
ละอทินนาทาน |
|
ค. |
ละอพรหมจรรย์ |
ง. |
ละมุสาวาท |
|
|
|
|
|
๔๗. |
การถืออุโบสถศีลไม่ให้ขาดไม่ให้ด่างพร้อย ควรกระทำอย่างไร ? |
|
ก. |
ชำระบาป |
ข. |
สำรวมระวัง |
|
ค. |
อดอาหาร |
ง. |
กินมังสวิรัติ |
|
|
|
|
|
๔๘. |
การถืออุโบสถศีลจะได้รับผลมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับอะไร ? |
|
ก. |
มีสุขภาพดี |
ข. |
มีอายุมาก |
|
ค. |
มีความตั้งใจ |
ง. |
มีบุญบารมี |
|
|
|
|
|
๔๙. |
การถืออุโบสถศีลทำให้มนุษย์หยุดทำร้ายกัน ตรงกับข้อใด ? |
|
ก. |
ศีลสร้างความปลอดภัย |
ข. |
ศีลสร้างสวรรค์ |
|
ค. |
ศีลสร้างความเสมอภาค |
ง. |
ถูกทุกข้อ |
|
|
|
|
|
๕๐. |
การรักษาอุโบสถศีล จัดเข้าในบุญกิริยาวัตถุข้อใด ? |
|
ก. |
ทาน |
ข. |
ศีล |
|
ค. |
ภาวนา |
ง. |
ถูกทุกข้อ |
|
|
|
|
|
 |
|
|
|
เอกสารอ้างอิง |
|
|
|
เรื่องสอบธรรม ของสนามหลวงแผนกธรรม พ.ศ.๒๕๕๓. หน้า ๒๔๕-๒๕๕. |
|
|
|
|
|