ปัญหาและเฉลย
วิชาอุโบสถศีล (วินัย) ธรรมศึกษาชั้นโท
สอบในสนามหลวง
วันจันทร์ ที่ ๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๒
เวลา ๑๕.๐๐ - ๑๕.๕๐ น.
คำสั่ง :
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑.
วิชาอุโบสถศีล มีรายละเอียดเนื้อหาเกี่ยวกับศีลข้อใด ?
ก.
ศีล ๕
ข.
ศีล ๘
ค.
ศีล ๑๐
ง.
ศีล ๒๒๗
๒.
ในการบำเพ็ญกุศลทุกครั้ง เหตุใดจึงต้องมีการสมาทานศีลก่อน ?
ก.
เพราะศีลเป็นเครื่องรองรับ
กุศลกรรม
ข.
เพราะศีลเป็นอุบายทำ
กายใจให้ตั้งมั่น
ค.
เพราะต้องการสืบทอด
ประเพณีนิยม
ง.
เพราะให้ปฏิบัติขั้นตอน
พิธีกรรม
๓.
แผ่นดินเป็นที่รองรับทุกสรรพสิ่ง ศีลเป็นเครื่องรองรับอะไร ?
ก.
กุศลจิต
ข.
กุศลกรรม
ค.
กุศลมูล
ง.
กุศลธรรม
๔.
แรกจะนับถือพระพุทธสาสนา ควรเปล่งวาจาเข้าถึงพระรัตนตรัย
เพื่อปลูกฝังคุณธรรมใด ให้เกิดขึ้นก่อน ?
ก.
ศีล
ข.
ศรัทธา
ค.
จาคะ
ง.
ปัญญา
๕.
คำว่า
พุทฺธํ สรณํ
คจฺฉามิ
พระพุทธเจ้าตรัสแก่ใครเป็นครั้งแรก ?
ก.
พระเจ้าพิมพิสาร
ข.
พระมหาสาวก ๘๐
ค.
พระอรหันต์ ๖๐
ง.
พระปัญจวัคคีย์ ๕
๖.
ในพระรัตนตรัย อะไรรักษาผู้ปฏิบัติไม่ให้ตกไปในทางที่ชั่ว ?
ก.
พระพุทธ
ข.
พระธรรม
ค.
พระสงฆ์
ง.
ถูกทุกข้อ
๗.
คำว่า
สรณะ
ในอุโบสถศีล หมายถึงอะไร ?
ก.
วัตถุมงคล
ข.
พระพุทธรูป
ค.
โชควาสนา
ง.
พระรัตนตรัย
๘.
การถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เป็นที่พึ่งที่ระลึก เรียกอะไร ?
ก.
อาราธนาศีล
ข.
สมาทานศีล
ค.
รับสรณคมน์
ง.
รักษาศีล ๘
๙.
การเข้าถึงสรณคมน์ของใคร มีความมั่นคงมากกว่าของผู้อื่น ?
ก.
ปุถุชน
ข.
สามัญชน
ค.
อริยชน
ง.
โลกิยชน
๑๐.
การเข้าถึงสรณคมน์ของพุทธศาสนิกชน จะสิ้นสุดลงตอนใด ?
ก.
เกิดสงสัย
ข.
ศีลขาด
ค.
ไม่เชื่อถือ
ง.
เสียชีวิต
๑๑.
สงสัยว่าพระพุทธเจ้ามีจริงหรือ เป็นเหตุให้สรณคมน์เป็นเช่นไร ?
ก.
เศร้าหมอง
ข.
บกพร่องไป
ค.
ต้องรับใหม่
ง.
ขาดลงทันที
๑๒.
สรณคมน์เศร้าหมองเพราะความไม่เอื้อเฟื้อ ตรงกับข้อใด ?
ก.
ไม่เล่าเรียนคำสอน
ข.
ไม่เชื่อเรื่องบุญ
ค.
ไม่เคารพพระสงฆ์
ง.
สงสัยเรื่องนรก
๑๓.
ปฏิบัติตนอย่างไร จึงถูกต้องตามหลักการเข้าถึงสรณคมน์ ?
ก.
ขอพรดีจากหนูหูทิพย์
ข.
ไหว้สิ่งศักดิสิทธิ์ทั่วถิ่นไทย
ค.
สร้างพระพิฆเนศวร์ใหญ่
ง.
ให้ปฏิบัติขัดเกลากิเลส
๑๔.
พระรัตนตรัยมีความเกี่ยวเนื่องกัน หากเปรียบพระพุทธเจ้าเป็นผู้
ชี้ขุมทรัพย์ พระสงฆ์จะเปรียบเหมือนอะไร ?
ก.
คนฝังขุมทรัพย์
ข.
คนเฝ้าขุมทรัพย์
ค.
คนพบขุมทรัพย์
ง.
คนใช้สอยทรัพย์
๑๕.
ข้อใด เป็นประโยชน์สูงสุดในการเข้าถึงพระรัตนตรัย ?
ก.
ได้สวดมนต์
ข.
ได้กราบไหว้
ค.
ได้ตักบาตร
ง.
ได้เห็นธรรม
๑๖.
ข้อใด ถือเป็นที่พึ่งสูงสุดในทางพระพุทธศาสนา ?
ก.
พระรัตนตรัย
ข.
ต้นไม้
ค.
ภูเขา
ง.
แม่น้ำ
๑๗.
อุโบสถ เป็นเรื่องบำเพ็ญกุศลความดีของใคร ?
ก.
คฤหัสถ์
ข.
ภิกษุ
ค.
สามเณร
ง.
แม่ชี
๑๘.
การรักษาอุโบสถ บัญญัติขึ้นด้วยวัตถุประสงค์ใด ?
ก.
เพื่อทำกิจทางพระพุทธ
ศาสนา
ข.
เพื่อหยุดการงานของ
คฤหัสถ์
ค.
เพื่อขัดเกลากิเลส
อย่างหยาบ
ง.
ถูกทุกข้อ
๑๙.
การรักษาอุโบสถ เริ่มปฏิบัติกันมาตั้งแต่เมื่อไร ?
ก.
ก่อนพุทธกาล
ข.
สมัยพุทธกาล
ค.
กึ่งพุทธกาล
ง.
หลังพุทธกาล
๒๐.
การรักษาอุโบสถ นอกจากให้ทานรักษาศีลและเจริญภาวนาแล้ว
ควรทำอย่างไรอีก ?
ก.
อยู่ให้ครบเดือน
ข.
อยู่ให้ครบพรรษา
ค.
อยู่ให้ครบเวลา
ง.
อยู่ครึ่งวันพอแล้ว
๒๑.
อุโบสถนอกพุทธกาลกับสมัยพุทธกาล เหมือนกันในข้อใด ?
ก.
การรักษาศีล ๘
ข.
การรับสรณคมน์
ค.
การสมาทานศีล
ง.
การงดเว้นอาหาร
๒๒.
หากรักษาปฏิชาครอุโบสถในวัน ๘ ค่ำ วันรับจะเป็นวันกี่ค่ำ ?
ก.
๖ ค่ำ
ข.
๗ ค่ำ
ค.
๘ ค่ำ
ง.
๙ ค่ำ
๒๓.
อุโบสถที่อุบาสกอุบาสิกานิยมรักษาในวันพระวันหนึ่งกับคืนหนึ่ง
เป็นอุโบสถประเภทใด ?
ก.
ปรกติอุโบสถ
ข.
ปฏิชาครอุโบสถ
ค.
ปาฏิหาริยอุโบสถ
ง.
นิคคัณฐอุโบสถ
๒๔.
อุโบสถประเภทใด เทียบได้กับการอยู่จำพรรษาของพระภิกษุ ?
ก.
ปกติอุโบสถ
ข.
ปฏิชาครอุโบสถ
ค.
ปาฏิหาริยอุโบสถ
ง.
นิคคัณฐอุโบสถ
๒๕.
อุโบสถประกอบด้วยองค์ ๘ หมายถึงข้อใด ?
ก.
ทิศ ๘
ข.
บุคคล ๘
ค.
ศีล ๘
ง.
มรรค ๘
๒๖.
การจะรักษาอุโบสถศีลไม่ให้ขาดให้ด่างพร้อย ต้องทำอย่างไร ?
ก.
สมาทานศีล
ข.
งดจากข้อห้าม
ค.
ตั้งใจภาวนา
ง.
ถือให้ครบเวลา
๒๗.
อุโบสถศีลข้อใด ขาดเพราะประพฤติผิดทางวาจา ?
ก.
ปาณาติบาต
ข.
อทินนาทาน
ค.
กาเมสุมิจฉาจาร
ง.
มุสาวาท
๒๘.
อุโบสถศีลข้อใด ขาดเพราะประพฤติเกี่ยวข้องในกาม ?
ก.
สิกขาบทที่ ๑
ข.
สิกขาบทที่ ๒
ค.
สิกขาบทที่ ๓
ง.
สิกขาบทที่ ๔
๒๙.
เหตุเป็นที่ตั้งแห่งความประมาทในอุโบสถศีลข้อ ๕ คืออะไร ?
ก.
ฆ่าสัตว์
ข.
ลักขโมย
ค.
พูดปด
ง.
ดื่มน้ำเมา
๓๐.
คำว่า
อพรหมจรรย
์ ในอุโบสถศีลข้อที่ ๓ หมายถึงอะไร ?
ก.
การล่วงประเวณี
ข.
การร้องเพลง
ค.
การดื่มสุราเมรัย
ง.
การอดอาหาร
๓๑.
สิ่งเป็นข้าศึกแก่พรหมจรรย์ในอุโบสถศีลข้อ ๓ คืออะไร ?
ก.
แต่งตัว
ข.
เสพกาม
ค.
พูดปด
ง.
ลักขโมย
๓๒.
ในอุโบสถศีลข้อ ๖ กำหนดให้ผู้สมาทานรักษาต้องงดเว้นอะไร ?
ก.
ขับร้อง
ข.
ดูการเล่น
ค.
แต่งตัว
ง.
อาหารค่ำ
๓๓.
อุโบสถศีลข้อที่ ๗ กำหนดให้ผู้สมาทานรักษาต้องเว้นเรื่องใด ?
ก.
เสพกาม
ข.
ลักทรัพย์
ค.
แต่งตัว
ง.
ดื่มเหล้า
๓๔.
กาลที่กำหนดให้ผู้รักษาอุโบสถบริโภคอาหารได้ ตรงกับข้อใด ?
ก.
ตอนเช้า
ข.
ตอนบ่าย
ค.
ตอนเย็น
ง.
ตอนค่ำ
๓๕.
วันอัฏฐมีในคำประกาศอุโบสถ หมายถึงวันกี่ค่ำ ?
ก.
วัน ๘ ค่ำ
ข.
วัน ๑๐ ค่ำ
ค.
วัน ๑๔ ค่ำ
ง.
วัน ๑๕ ค่ำ
๓๖.
อุโบสถของใคร มีข้อห้ามในบางเรื่องไม่ห้ามในบางเรื่อง ?
ก.
อุบาสก
ข.
อุบาสิกา
ค.
อาชีวก
ง.
นิครนถ์
๓๗.
ผู้รักษาอุโบสถทายากันยุง ถือว่าไม่ละเมิดศีล เพราะสาเหตุใด ?
ก.
ป้องกันตัว
ข.
ประเทืองผิว
ค.
ให้สบายใจ
ง.
ดับกลิ่นกาย
๓๘.
การกระทำใด ไม่เป็นข้อศึกต่อการรักษาอุโบสถศีลข้อ ๗ ?
ก.
ขับบทเสภา
ข.
สวดสรภัญญะ
ค.
ดูโขนละคร
ง.
ฟ้อนรำขับร้อง
๓๙.
ในการรักษาอุโบสถ ห้ามผู้สมาทานรักษานอนบนที่นอนสูงใหญ่
เพื่อป้องกันอะไร ?
ก.
ความกำหนัด
ข.
อุบัติเหตุ
ค.
การนอนมาก
ง.
สัตว์ร้าย
๔๐.
ในพิธีรักษาอุโบสถ กำหนดให้ผู้สมาทานรักษาทำเรื่องใดก่อน ?
ก.
กราบพระรัตนตรัย
ข.
ประกาศคำอุโบสถ
ค.
สมาทานศีล
ง.
เจริญภาวนา
๔๑.
ผู้สมาทานอุโบสถไม่รู้ภาษาบาลี ควรปฏิบัติอย่างไร ?
ก.
กล่าวเป็นภาษาไทย
ข.
กล่าวเป็นภาษาบาลี
ค.
กล่าวที่หน้าพุทธรูป
ง.
ไม่ต้องกล่าวเลยก็ได้
๔๒.
ครั้นถึงวันอุโบสถ ควรสมาทานองค์อุโบสถในเวลาใด ?
ก.
ตอนเช้า
ข.
ตอนเที่ยงวัน
ค.
ตอนบ่าย
ง.
ตอนกลางคืน
๔๓.
ปัจจุบัน นิยมให้สมาทานศีลอุโบสถกับใคร ?
ก.
พระพุทธเจ้า
ข.
พระสงฆ์
ค.
หลวงปู่ฤาษี
ง.
คฤหัสถ์
๔๔.
หลังเข้าจำอุโบสถ ปฏิบัติตนอย่างไร บาปอกุศลจึงไม่เกิดขึ้น ?
ก.
นึกถึงบ้าน
ข.
นึกถึงหลาน
ค.
นึกถึงทาน
ง.
นึกถึงลูกๆ
๔๕.
เรื่องที่ไม่ควรนำมาพูดในขณะถืออุโบสถศีล จัดเป็นอุโบสถใด ?
ก.
โคปาลกอุโบสถ
ข.
อริยอุโบสถ
ค.
นิคคัณฐอุโบสถ
ง.
ปกติอุโบสถ
๔๖.
พูดเรื่องทำมาหากินในขณะถืออุโบสถศีล จัดเป็นอุโบสถใด ?
ก.
โคปาลกอุโบสถ
ข.
อริยอุโบสถ
ค.
นิคคัณฐอุโบสถ
ง.
ปกติอุโบสถ
๔๗.
อุโบสถประเภทใด มีอานิสงส์มาก เพราะตั้งใจรักษา ?
ก.
โคปาลกอุโบสถ
ข.
อริยอุโบสถ
ค.
นิคคัณฐอุโบสถ
ง.
ถูกทุกข้อ
๔๘.
อุโบสถประเภทใด เปรียบผู้รักษาเหมือนคนรับจ้างเลี้ยงโค ?
ก.
โคปาลกอุโบสถ
ข.
ปาฏิหาริยอุโบสถ
ค.
นิคคัณฐอุโบสถ
ง.
ปฏิชาครอุโบสถ
๔๙.
การถืออุโบสถศีลจะได้รับผลมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับอะไร ?
ก.
บุญบารมี
ข.
โชควาสนา
ค.
ชะตาชีวิต
ง.
ความตั้งใจ
๕๐.
อุโบสถศีล สร้างความปลอดภัยให้แก่มนุษย์อย่างไร ?
ก.
ให้ได้เกิดบนสวรรค์
ข.
ให้ไม่มีเวรต่อกัน
ค.
ให้ทันพระศรีอาริย์
ง.
ให้บรรลุนิพพาน
เอกสารอ้างอิง
เรื่องสอบธรรม ของสนามหลวงแผนกธรรม พ.ศ.๒๕๕๒. หน้า
ข้อสอบสนามหลวง
พ.ศ. ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๑
พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๖๕
พ.ศ. ๒๕๖๖
พ.ศ. ๒๕๖๗
พ.ศ. ๒๕๖๘
พ.ศ. ๒๕๖๙
พ.ศ. ๒๕๗๐
พ.ศ. ๒๕๗๑
พ.ศ. ๒๕๗๒
พ.ศ. ๒๕๗๓
พ.ศ. ๒๕๗๔
พ.ศ. ๒๕๗๕
พ.ศ. ๒๕๗๖
พ.ศ. ๒๕๗๗
พ.ศ. ๒๕๗๘
พ.ศ. ๒๕๗๙
พ.ศ. ๒๕๘๐
พ.ศ. ๒๕๘๑
พ.ศ. ๒๕๘๒
พ.ศ. ๒๕๘๓
พ.ศ. ๒๕๘๔
พ.ศ. ๒๕๘๕
พ.ศ. ๒๕๘๖
พ.ศ. ๒๕๘๗
พ.ศ. ๒๕๘๘
พ.ศ. ๒๕๘๙
พ.ศ. ๒๕๙๐
พ.ศ. ๒๕๙๑
พ.ศ. ๒๕๙๒
พ.ศ. ๒๕๙๓
พ.ศ. ๒๕๙๔
พ.ศ. ๒๕๙๕
พ.ศ. ๒๕๙๖
พ.ศ. ๒๕๙๗
พ.ศ. ๒๕๙๘
พ.ศ. ๒๕๙๙
พ.ศ. ๒๖๐๐