ปัญหาและเฉลย
วิชาอุโบสถศีล (วินัย) ธรรมศึกษาชั้นโท
สอบในสนามหลวง
วันจันทร์ ที่ ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕
เวลา ๑๕.๐๐ - ๑๕.๕๐ น.
คำสั่ง :
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑.
เครื่องควบคุมความประพฤติทางกาย วาจา ให้เรียบร้อยคือ…?
ก.
ทาน
ข.
ศีล
ค.
สมาธิ
ง.
ปัญญา
๒.
เป้าหมายสูงสุดในพระพุทธศาสนา ได้แก่…?
ก.
มนุษยสมบัติ
ข.
สวรรคสมบัติ
ค.
สมาบัติ ๘
ง.
มรรค ผล นิพพาน
๓.
พาณิชสองพี่น้อง เข้าถึงพระรัตนตรัยด้วยวิธีใด ?
ก.
สมาทาน
ข.
มอบตนเป็นสาวก
ค.
ถวายชีวิตในพระรัตนตรัย
ง.
เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา
๔.
สรณคมน์ หมายเอาการถึงสรณะในข้อใด ?
ก.
พระพุทธเจ้า
ข.
พระธรรม
ค.
พระสงฆ์
ง.
ทั้ง ๓ ข้อ
๕.
การขาดสรณคมน์ไม่มีโทษ เพราะ…?
ก.
ความตาย
ข.
ทำร้ายพระศาสดา
ค.
ไปนับถือศาสดาอื่น
ง.
ไม่มีข้อถูก
๖.
ผู้ใด มีสรณคมน์เศร้าหมอง ?
ก.
ดำไม่ถูกกับพระบางรูป
ข.
ปีเตอร์สมาทานศีลไม่ชัด
ค.
พระเท่งไปเที่ยวประเทศ
อิรัก
ง.
ชัดสงสัยว่าพระพุทธเจ้า
มีจริงหรือ
๗.
อุโบสถชนิดใด รักษาตลอดวันหนึ่งกับคืนหนึ่ง ?
ก.
ปกติอุโบสถ
ข.
ปฏิชาครอุโบสถ
ค.
ปาฏิหาริยอุโบสถ
ง.
อริยอุโบสถ
๘.
ศีลข้อใด สนับสนุนให้คนงามตามธรรมชาติ ?
ก.
ศีลข้อ ๕
ข.
ศีลข้อ ๖
ค.
ศีลข้อ ๗
ง.
ศีลข้อ ๘
๙.
เมื่อพระสงฆ์กล่าวว่า “
ติสรณคมนํ นิฏฺิตํํ
” พึงรับพร้อมกันว่า…?
ก.
สาธุ ภนฺเต
ข.
สมฺปฏิจฺฉามิ
ค.
อาม ภนฺเต
ง.
สาธุ อนุโมทามิ
๑๐.
ผู้ถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะ ปฏิบัติอย่างไรถูกต้องที่สุด ?
ก.
ทำพิธีรับขันธ์ห้า
ข.
ปฏิบัติเพื่อละกิเลส
ค.
ทำบุญเพื่อเสริมดวงชะตา
ง.
หาเช่าบูชาพระเครื่องรุ่นนิยม
๑๑.
คำว่า “
พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ
” ใครกล่าวครั้งแรก ?
ก.
อุปกาชีวก
ข.
ตปุสสะ ภัลลิกะ
ค.
ท้าวมหาพรหม
ง.
พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
๑๒.
จากคำถามข้อที่ ๑๑ กล่าวไว้เพื่อจุดประสงค์ใด ?
ก.
เพื่อเป็นวิธีบวช
ข.
เพื่อสอนชาวบ้าน
ค.
เพื่อเจริญอนุสสติ
ง.
เพื่อป้องกันอมนุษย์
๑๓.
การขาดสรณคมน์ อาจเกิดขึ้นได้กับบุคคลใด ?
ก.
โสดาบันบุคคล
ข.
สกทาคามีบุคคล
ค.
อนาคามีบุคคล
ง.
บุคคลทั่วไป
๑๔.
ข้อใด ไม่จัดอยู่ในสรณะทั้ง ๓ ?
ก.
พระสมณโคดม
ข.
พระโพธิสัตว์
ค.
พระกัสสปเถระ
ง.
พระขีณาสพ
๑๕.
“
ผู้นั่งใกล้พระรัตนตรัย
” ตามความหมายที่ถูกต้องคือข้อใด ?
ก.
ตปุสสะและภัลลิกะ
ข.
อุตรมานพ
ค.
สุปปพุทธกุฏฐิ
ง.
พรหมายุพราหมณ์
๑๖.
ผู้ใด เป็นตัวอย่างของผู้ถึงพระรัตนตรัยอย่างมั่นคง ?
ก.
ตปุสสะและภัลลิกะ
ข.
อุตรมานพ
ค.
สุปปพุทธกุฏฐิ
ง.
พรหมายุพราหมณ์
๑๗.
พุทธะ แปลว่า ผู้รู้ หมายถึง ?
ก.
รู้ตามผู้อื่น
ข.
รับความรู้จากพระเจ้า
ค.
คิดเอาเอง
ง.
ตรัสรู้และสอนให้ผู้อื่นรู้
๑๘.
พระสงฆ์ได้นามว่าสังฆะ เพราะ…?
ก.
มีทิฏฐิและศีลเสมอกัน
ข.
อาศัยอยู่ในวัดเดียวกัน
ค.
โกนผมห่มจีวรเหมือนกัน
ง.
นับถือพระพุทธศาสนาเหมือนกัน
๑๙.
ผู้เปล่งวาจาว่า “
ข้าพเจ้านอบน้อมพระผู้มีพระภาคเจ้า
” ชื่อว่า
ถึงสรณะด้วยวิธีไหน ?
ก.
ปฏิบัติหน้าที่พุทธบริษัท
ข.
ยอมนอบน้อม
ค.
มอบตนเป็นสาวก
ง.
การสมาทาน
๒๐.
สรณคมน์ของผู้ใด ไม่มีการขาด ?
ก.
ภิกษุ
ข.
ภิกษุณี
ค.
อุบาสกอุบาสิกา
ง.
พระอริยบุคคล
๒๑.
คำว่า “
สรณะ
” แปลว่า ที่พึ่ง หมายถึงอะไร ?
ก.
มีความขลัง
ข.
กำจัดทุกข์ได้
ค.
ดลบันดาลอะไรก็ได้
ง.
มีความศักดิ์สิทธิ์
๒๒.
การถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะ หมายถึงอะไร ?
ก.
การขอพร
ข.
การบนบาน
ค.
การขอความคุ้มครอง
ง.
การปฏิบัติตามคำสอน
๒๓.
ข้อใด เป็นเหตุให้สรณคมน์เศร้าหมอง ?
ก.
ไม่รู้จักพระรัตนตรัย
ข.
เข้าใจผิดในพระรัตนตรัย
ค.
ไม่เอื้อเฟื้อพระรัตนตรัย
ง.
ถูกทุกข้อ
๒๔.
ในคังคมาลชาดก พระโพธิสัตว์ชื่อว่าไม่ได้สมาทานรักษาอุโบสถ
เพราะสาเหตุใด ?
ก.
รับประทานอาหารเย็น
ข.
ไม่รับประทานอาหาร
ค.
ไม่ได้รับอุโบสถศีล
ง.
ไม่ได้อธิษฐานอุโบสถ
๒๕.
อุโบสถใด ไม่ประกอบด้วยสรณคมน์และองค์ ๘ ?
ก.
อุโบสถนอกพุทธกาล
ข.
อุโบสถสมัยพุทธกาล
ค.
อุโบสถหลังพุทธกาล
ง.
อุโบสถในปัจจุบัน
๒๖.
ปกติอุโบสถนั้นกำหนดรักษาเดือนละ ๔ วัน ยกเว้นวันใด ?
ก.
วันขึ้น ๑๔ ค่ำ
ข.
วันแรม ๘ ค่ำ
ค.
วันขึ้น ๑๕ ค่ำ
ง.
วันแรม ๑๔ ค่ำ
๒๗.
ข้อใด ไม่ถือว่าเป็นการล่วงละเมิดศีลอุโบสถ ?
ก.
ร้องเพลงชาติ ในเวลา ๘
นาฬิกา
ข.
เดินเหยียบมดตาย
โดยไม่รู้ตัว
ค.
ทานยาดองเหล้า
เพื่อแก้ปวดเมื่อย
ง.
ทานข้าวหลังเที่ยง
เพราะต้องกินยา
๒๘.
การรักษาอุโบสถประเภทใด ได้อานิสงส์มากที่สุด ?
ก.
ปฏิชาครอุโบสถ
ข.
ปาฏิหาริยอุโบสถ
ค.
โคปาลกอุโบสถ
ง.
อริยอุโบสถ
๒๙.
การสมาทานรักษาศีลอุโบสถนั้น เหมาะแก่ใคร ?
ก.
คนสูงอายุ
ข.
คนทำงาน
ค.
คนวัยรุ่น
ง.
ถูกทุกข้อ
๓๐.
สถานที่ใด สามารถอยู่รักษาอุโบสถศีลได้ ?
ก.
วัดใกล้บ้าน
ข.
สวนสาธารณะ
ค.
ป่าช้า
ง.
ถูกทุกข้อ
๓๑.
การกระทำใด ทำให้ศีลข้อที่ ๗ ขาด ?
ก.
ฟังละครวิทยุ
ข.
แต่งหน้าทาปาก
ค.
ถูกทั้ง ก. และ ข.
ง.
นอนบนที่นอนสูง
๓๒.
ในเรื่องปัญจอุโบสถ แสดงให้เห็นถึงข้อใด ?
ก.
ควรแก้ทุกข์ด้วยศีลธรรม
ข.
การประพฤติธรรมทำให้มีอายุยืน
ค.
โทษที่เกิดจากการล่วง
ละเมิดอุโบสถ
ง.
ปาฏิหาริย์ที่เกิดจากการ
รักษาอุโบสถ
๓๓.
ความเชื่อใด ไม่ใช่ความเชื่อของผู้ถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะ ?
ก.
ชาติหน้ามีจริง
ข.
ผลของกรรมมีจริง
ค.
ลางดี ลางร้าย บอกเหตุได้จริง
ง.
การประพฤติธรรมทำให้
พ้นทุกข์ได้จริง
๓๔.
เมื่อรักษาอุโบสถศีลแล้ว การรักษานั้นจะสิ้นสุดได้เมื่อใด ?
ก.
เมื่อพ้นกำหนดเวลา
ข.
เมื่อลาศีลกับพระภิกษุ
ค.
เมื่อตั้งเจตนาเลิกรักษา
ง.
เมื่อเปล่งวาจาเลิกรักษา
๓๕.
ขณะที่รักษาอุโบสถ หากเผลอล่วงละเมิดศีล ควรทำอย่างไร ?
ก.
ลาศีลกลับบ้าน
ข.
พยายามสำรวมระวังต่อไป
ค.
ทำบุญสะเดาะเคราะห์
ง.
อยู่เฉย ๆ ไม่ต้องทำอะไร
๓๖.
คำกล่าวขึ้นต้นว่า “
อชฺช โภนฺโต ปกฺขสฺส อฏฺมีทิวโส
…”
เป็นคำกล่าวของข้อใด ?
ก.
คำอาราธนาอุโบสถศีล
ข.
คำประกาศอุโบสถ
ค.
คำบูชาพระรัตนตรัย
ง.
คำรับสรณคมน์
๓๗.
ข้อใด หมายถึงการรักษาศีล ?
ก.
การขอศีล
ข.
การรับศีล
ค.
การสมาทานศีล
ง.
การไม่ล่วงละเมิดศีล
๓๘.
ขั้นตอนใด ต้องทำก่อนประกาศอุโบสถ ?
ก.
อาราธนาศีล
ข.
บูชาพระรัตนตรัย
ค.
สมาทานศีล
ง.
รับสรณคมน์
๓๙.
การเข้าวัดปฏิบัติธรรม ข้อไหนถูกต้อง ?
ก.
เพื่อทำพิธีตัดกรรม
ข.
เพื่อเสริมดวงชะตา
ค.
เพื่อหาแสวงหาโชคลาภ
ง.
เพื่อเจริญภาวนา
๔๐.
อุโบสถก่อนพุทธกาล หมายถึง ?
ก.
การสมาทานองค์ ๘
ข.
การบำเพ็ญตบะบูชาไฟ
ค.
การรับประทานแต่ผลไม้
ง.
การอดอาหารในวันที่กำหนด
๔๑.
อุโบสถกรรมครึ่งเดียว หมายถึง ?
ก.
รักษาศีล ๔ ข้อ
ข.
รักษาศีลครึ่งวัน
ค.
รักษาศีล ๓ วัน
ง.
รักษาศีลบ้างไม่รักษาบ้าง
๔๒.
ความมุ่งหมายของการเข้าจำอุโบสถ คือข้อใด ?
ก.
หยุดพักการงาน
ข.
ขัดเกลากิเลส
ค.
สงบสติอารมณ์
ง.
ถูกทุกข้อ
๔๓.
วิธีรักษาอุโบสถก่อนพุทธกาลทำอย่างไร ?
ก.
เปล่งวาจาสมาทาน
ข.
อธิษฐานอุโบสถเอง
ค.
รับโอวาท ๓ ข้อ
ง.
รับจากพระปัจเจกพุทธเจ้า
๔๔.
เมื่อรักษาอุโบสถศีลข้อที่ ๗ ห้ามกระทำสิ่งใด ?
ก.
ร้องเพลง
ข.
แต่งหน้าทาปาก
ค.
ฟ้อนรำ
ง.
ถูกทุกข้อ
๔๕.
สมาทานอุโบสถศีลโดยวิธีใด จึงถูกต้อง ?
ก.
เปล่งวาจาอธิษฐานเอง
ข.
สมาทานจากพระภิกษุ
ค.
สมาทานจากคนที่รู้และเข้าใจ
ง.
ถูกทุกข้อ
๔๖.
ข้อใด จำเป็นสำหรับผู้รักษาอุโบสถศีล ?
ก.
ต้องไปรักษาศีลที่วัด
ข.
ต้องสมาทานศีลกับพระ
ค.
ต้องเปล่งวาจาสมาทาน
ง.
ต้องสมาทานศีลทีละข้อ
๔๗.
ความหมายแห่งการปฏิบัติธรรมที่แท้จริง คือข้อใด ?
ก.
ฝึกใจให้ผ่องใส
ข.
เข้าป่าหาผู้วิเศษ
ค.
ทิ้งบุตรธิดาได้
ง.
ทิ้งมารดาบิดาได้
๔๘.
ศีลข้อใด บัญญัติไว้สำหรับผู้รักษาอุโบสถเท่านั้น ?
ก.
เว้นปาณาติบาต
ข.
เว้นอทินนาทาน
ค.
เว้นอพรหมจรรย์
ง.
เว้นมุสาวาท
๔๙.
ศีลข้อใด ถือปฏิบัติได้ทั้งคนทั่วไปและผู้รักษาอุโบสถ ?
ก.
เว้นปาณาติบาต
ข.
เว้นอพรหมจรรย์
ค.
เว้นวิกาลโภชนา
ง.
เว้นการฟ้อนรำขับร้อง
๕๐.
เพราะเหตุใด จึงห้ามผู้รักษาอุโบสถ ดูการละเล่นต่างๆ ?
ก.
เสียเวลาทำกิน
ข.
เสียสุขภาพจิต
ค.
เสียทรัพย์
ง.
เป็นข้าศึกแก่กุศล
เอกสารอ้างอิง
เรื่องสอบธรรม ของสนามหลวงแผนกธรรม พ.ศ.๒๕๔๘. หน้า
ข้อสอบสนามหลวง
พ.ศ. ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๑
พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๖๕
พ.ศ. ๒๕๖๖
พ.ศ. ๒๕๖๗
พ.ศ. ๒๕๖๘
พ.ศ. ๒๕๖๙
พ.ศ. ๒๕๗๐
พ.ศ. ๒๕๗๑
พ.ศ. ๒๕๗๒
พ.ศ. ๒๕๗๓
พ.ศ. ๒๕๗๔
พ.ศ. ๒๕๗๕
พ.ศ. ๒๕๗๖
พ.ศ. ๒๕๗๗
พ.ศ. ๒๕๗๘
พ.ศ. ๒๕๗๙
พ.ศ. ๒๕๘๐
พ.ศ. ๒๕๘๑
พ.ศ. ๒๕๘๒
พ.ศ. ๒๕๘๓
พ.ศ. ๒๕๘๔
พ.ศ. ๒๕๘๕
พ.ศ. ๒๕๘๖
พ.ศ. ๒๕๘๗
พ.ศ. ๒๕๘๘
พ.ศ. ๒๕๘๙
พ.ศ. ๒๕๙๐
พ.ศ. ๒๕๙๑
พ.ศ. ๒๕๙๒
พ.ศ. ๒๕๙๓
พ.ศ. ๒๕๙๔
พ.ศ. ๒๕๙๕
พ.ศ. ๒๕๙๖
พ.ศ. ๒๕๙๗
พ.ศ. ๒๕๙๘
พ.ศ. ๒๕๙๙
พ.ศ. ๒๖๐๐