ปัญหาและเฉลย
วิชาอุโบสถศีล (วินัย) ธรรมศึกษาชั้นโท
สอบในสนามหลวง
วันพุธ ที่ ๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๗
เวลา ๑๕.๐๐ - ๑๕.๕๐ น.
คำสั่ง :
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑.
การถือศีลอุโบสถ เพื่อประโยชน์อะไร ?
ก.
เพื่อหยุดพักผ่อนของฆราวาส
ข.
เพื่อทำกิจกรรมทางพระศาสนา
ค.
เพื่อสวดปาติโมกข์ทุกวันพระ
ง.
เพื่อพระสงฆ์ทำอุโบสถกรรม
๒.
การรักษาอุโบสถศีล จัดเข้าในพิธีใด ?
ก.
กุศลพิธี
ข.
บุญพิธี
ค.
ทานพิธี
ง.
ปกิณกะ
๓.
เข้าบ้านให้เข้าทางประตู จะเข้าสู่พระพุทธศาสนา ท่านว่าทางใด?
ก.
ศีล
ข.
กัมมัฏฐาน
ค.
พระธรรมคำสอน
ง.
พระรัตนตรัย
๔.
คำว่า “
สรณะ
” หมายถึงอะไร ?
ก.
ไตรลักษณ์
ข.
ไตรสิกขา
ค.
ไตรรัตน์
ง.
ไตรมาส
๕.
คำว่า “
สรณคมน์
” หมายถึงอะไร ?
ก.
การยึดเอาเป็นที่พึ่ง
ข.
การสักยันต์ป้องกันตัว
ค.
การถือศีลกินเจ
ง.
การมอบตนเป็นสาวก
๖.
ข้อใด ไม่ใช่สาเหตุแห่งการขาดสรณคมน์ ?
ก.
ตาย
ข.
ไปเข้ารีตถือศาสนาอื่น
ค.
ลบหลู่พระภูมิเจ้าที่
ง.
ลบหลู่ดูหมิ่นพระสงฆ์
๗.
อะไรเป็นสาเหตุให้สรณคมน์เศร้าหมอง ?
ก.
อาราธนาศีลไม่ได้
ข.
สงสัยเรื่องบาปบุญ
ค.
สมาทานศีลไม่ชัด
ง.
ถูกทุกข้อ
๘.
ข้อใด ไม่ใช่ความหมายของคำว่า “
พุทธะ
” ?
ก.
ผู้รู้
ข.
ผู้ตื่น
ค.
ผู้เบิกบาน
ง.
ผู้รู้ตาม
๙.
การเข้าหาพระรัตนตรัยอย่างไร จึงถูกต้อง ?
ก.
สวดมนต์ภาวนา
ข.
แสวงหาโชคลาภ
ค.
กราบขอพร
ง.
วิงวอนขอหวย
๑๐.
การถือศีลอุโบสถ เป็นกิจกรรมพิเศษอย่างหนึ่งของใคร ?
ก.
พระภิกษุ
ข.
คนถูกคุณไสย
ค.
หมอดู
ง.
อุบาสก อุบาสิกา
๑๑.
การถืออุโบสถ มีมาแต่ครั้งใด ?
ก.
ก่อนพุทธกาล
ข.
สมัยพุทธกาล
ค.
หลังพุทธกาล
ง.
หลักฐานไม่แน่ชัด
๑๒.
การถือศีลอุโบสถในปัญจอุโปสถชาดก เพื่อข่มอะไร ?
ก.
ความโลภ
ข.
ความโกรธ
ค.
ความถือตัว
ง.
ถูกทุกข้อ
๑๓.
ปกติอุโบสถ กำหนดให้สมาทานรักษานานเท่าไร ?
ก.
วันหนึ่งคืนหนึ่ง
ข.
คราวละ ๓ วัน
ค.
ตลอด ๓ เดือน
ง.
ตลอด ๔ เดือน
๑๔.
ข้อใด ไม่ตรงกับวันในปฏิชาครอุโบสถ ?
ก.
วันรับ
ข.
วันส่ง
ค.
วันลา
ง.
วันรักษา
๑๕.
ปาฏิหาริยอุโบสถ กำหนดให้สมาทานรักษานานเท่าไร ?
ก.
วันหนึ่งคืนหนึ่ง
ข.
คราวละ ๓ วัน
ค.
คราวละ ๔ เดือน
ง.
คราวละ ๘ เดือน
๑๖.
ในปัญจอุโปสถชาดก ใครรักษาอุโบสถเพื่อระงับความเสียใจ ?
ก.
ฤษี
ข.
นกพิราบ
ค.
หมี
ง.
สุนัขจิ้งจอก
๑๗.
เมื่อถึงวันอุโบสถ ใครพึงสมาทานรักษาศีลอุโบสถ ?
ก.
เจ้าอาวาส
ข.
พระลูกวัด
ค.
สามเณร
ง.
สาธุชนทั่วไป
๑๘.
ข้อใด ผู้สมาทานรักษาศีลอุโบสถพึงกระทำ ?
ก.
เล่าชาดก
ข.
แต่งหน้า
ค.
ฟังละครวิทยุ
ง.
เปิดกรุของเก่า
๑๙.
คำประกาศอุโบสถ กำหนดให้ทำต่อจากขั้นตอนใด ?
ก.
บูชาพระรัตนตรัย
ข.
รับสรณคมน์
ค.
อาราธนาศีล
ง.
สมาทานศีล
๒๐.
“
ข้าพเจ้าขอบูชาพระผู้มีพระภาคเจ้าด้วยเครื่องสักการะนี้
”
เป็นคำกล่าวอยู่ในขั้นตอนใด ?
ก.
บูชาพระรัตนตรัย
ข.
ประกาศอุโบสถ
ค.
รับสรณคมน์
ง.
อาราธนาศีล
๒๑.
การรับว่าจะตั้งใจปฏิบัติตามศีลที่พระให้นั้น เรียกว่าอะไร ?
ก.
อธิษฐานศีล
ข.
อาราธนาศีล
ค.
สมาทานศีล
ง.
ถือศีลอด
๒๒.
คนไม่รู้ภาษาบาลี แต่มีศรัทธาถือศีลอุโบสถ พึงสมาทานด้วยวิธีใด ?
ก.
กล่าวตามหัวหน้า
ข.
กล่าวภาษาไทย
ค.
อธิษฐานเอาเอง
ง.
ถูกทุกข้อ
๒๓.
ข้อใด อุโบสถศีลต่างจากศีล ๕ ?
ก.
กำหนดเวลารักษา
ข.
ไม่กำหนดเวลารักษา
ค.
เป็นพื้นฐานของมนุษย์
ง.
ไม่ใช่พุทธบัญญัติ
๒๔.
แม้ทรัพย์ของตนเอง ก็ทำให้ผิดศีลข้อที่ ๒ ได้ ตรงกับข้อใด ?
ก.
ยืมของไม่ส่งคืน
ข.
หลบเลี่ยงภาษี
ค.
รับซื้อขายของโจร
ง.
บุกรุกพื้นที่อุทยาน
๒๕.
ทรัพย์ชนิดใด โจรลักไปไม่ได้ ?
ก.
อริยทรัพย์
ข.
ทรัพย์แผ่นดิน
ค.
สังหาริมทรัพย์
ง.
อสังหาริมทรัพย์
๒๖.
อสัทธรรมเป็นข้าศึกแก่พรหมจรรย์ คืออะไร ?
ก.
ความตาย
ข.
การล่วงประเวณี
ค.
ความแก่
ง.
ความพลัดพราก
๒๗.
ผู้รักษาอุโบสถศีล ควรพูดจาปราศรัยอย่างไร ?
ก.
อย่าติฉิน
ข.
อย่านินทา
ค.
อย่าว่าร้าย
ง.
ถูกทุกข้อ
๒๘.
เครื่องดื่มชนิดใด ผู้สมาทานรักษาอุโบสถศีลดื่มไม่ได้ ?
ก.
น้ำผึ้ง
ข.
น้ำชา
ค.
น้ำจัณฑ์
ง.
กาแฟ
๒๙.
ผู้สมาทานรักษาศีลอุโบสถ ควรสนทนากันด้วยเรื่องอะไร ?
ก.
เรื่องในบ้านตนเอง
ข.
เรื่องในบ้านคนอื่น
ค.
เรื่องสัตว์เลี้ยงน่ารัก
ง.
เรื่องเปรตผอมโซ
๓๐.
ผู้สมาทานรักษาศีลอุโบสถ พึงรับประทานอาหารให้เสร็จเวลาใด?
ก.
ก่อนเพล
ข.
ก่อนเที่ยง
ค.
เที่ยงครึ่ง
ง.
บ่ายโมง
๓๑.
ข้อใด ไม่ใช่กิจจำเป็นของผู้สมาทานรักษาศีลอุโบสถ ?
ก.
อดข้าวเย็น
ข.
เดินจงกรม
ค.
สวดมนต์
ง.
ฟังปาติโมกข์
๓๒.
อุโบสถศีลข้อที่ ๗ ให้งดเว้นอะไร ?
ก.
อาหารค่ำ
ข.
พูดคำหยาบ
ค.
ร้องเพลง
ง.
สูบบุหรี่
๓๓.
การดูเช่นไร ไม่เป็นข้าศึกแก่กุศล ?
ก.
ดูพระเครื่อง
ข.
ดูดวงชะตา
ค.
ดูเกมแก้จน
ง.
ดูอาการ ๓๒
๓๔.
การเล่นใด เป็นข้าศึกแก่กุศล ?
ก.
เล่นกล
ข.
เล่นตลก
ค.
เล่นแร่แปรธาตุ
ง.
ถูกทุกข้อ
๓๕.
ผู้สมาทานรักษาศีลอุโบสถ ไม่พึงนอนอย่างไร ?
ก.
นอนที่นอนสูง
ข.
นอนกลางวัน
ค.
นอนกลางดิน
ง.
นอนกรน
๓๖.
การถือศีลอุโบสถ ปล่อยวันคืนให้ผ่านพ้นไปโดยเปล่าประโยชน์
คิดอยากได้สิ่งโน้นสิ่งนี้ตลอดเวลา เป็นอุโบสถประเภทใด ?
ก.
โคปาลกอุโบสถ
ข.
อริยอุโบสถ
ค.
ปาฏิหาริยอุโบสถ
ง.
ปกติอุโบสถ
๓๗.
อุโบสถของนักบวชนอกพระพุทธศาสนา ตรงกับข้อใด ?
ก.
ปฏิชาครอุโบสถ
ข.
นิคัณฐอุโบสถ
ค.
ปาฏิหาริยอุโบสถ
ง.
ปกติอุโบสถ
๓๘.
อุโบสถใด ผู้สมาทานรักษาได้รับผลบุญมากที่สุด ?
ก.
โคปาลกอุโบสถ
ข.
นิคัณฐอุโบสถ
ค.
อริยอุโบสถ
ง.
ถูกทุกข้อ
๓๙.
ผู้สมาทานปกติอุโบสถ ต้องรักษาศีลอะไร ?
ก.
ศีล ๕
ข.
ศีล ๘
ค.
ศีล ๑๐
ง.
ศีล ๒๒๗
๔๐.
ข้อใด ไม่ใช่ศีลอุโบสถ ?
ก.
ไม่ใช้น้ำหอม
ข.
ไม่จับเงินทอง
ค.
ไม่ดูละครโขนหนัง
ง.
ไม่นั่งที่นั่งสูงใหญ่
๔๑.
ข้อใด เป็นเหตุให้การถือศีลอุโบสถมีผลน้อย ?
ก.
จับเงินทอง
ข.
ถือศีลที่บ้าน
ค.
หงุดหงิดฟุ้งซ่าน
ง.
สมาทานเอง
๔๒.
ผู้ถือศีลอุโบสถ พึงมีความเชื่ออย่างไร ?
ก.
เชื่อกรรม
ข.
เชื่อบาปบุญ
ค.
ไม่เชื่อมงคลตื่นข่าว
ง.
ถูกทุกข้อ
๔๓.
คำว่า “
ไม่ลวงโลก
” ในอุโปสถสูตร หมายถึงศีลข้อใด ?
ก.
งดฆ่าสัตว์
ข.
งดลักทรัพย์
ค.
งดพูดเท็จ
ง.
งดดื่มน้ำเมา
๔๔.
กิจกรรมใด ไม่เหมาะสมแก่ผู้สมาทานรักษาศีลอุโบสถ ?
ก.
ไหว้พระสวดมนต์
ข.
ท่องบ่นภาวนา
ค.
อ่านตำราหมอดู
ง.
เรียนรู้พระสูตร
๔๕.
ผู้สมาทานรักษาศีลอุโบสถ พึงปฏิบัติตนอย่างไร ?
ก.
งดเว้นการทำบาปกรรม
ข.
ทำแต่บุญกุศล
ค.
ทำจิตของตนให้ผ่องแผ้ว
ง.
ถูกทุกข้อ
๔๖.
ศีลอุโบสถที่สมาทานคราวเดียวพร้อมกัน หากข้อใดข้อหนึ่งขาด
จะมีผลต่อข้ออื่นอย่างไร ?
ก.
ขาดบางข้อ
ข.
ขาดทีละข้อ
ค.
ขาดทั้งหมด
ง.
ไม่ขาดทั้งหมด
๔๗.
เมื่อรักษาศีลอุโบสถครบตามกำหนดแล้ว พึงปฏิบัติอย่างไร ?
ก.
กล่าวคำลาพระรัตนตรัย
ข.
กล่าวคำลาศีล
ค.
กล่าวคำลาสิกขา
ง.
การสมาทานสิ้นสุดเอง
๔๘.
แว่นที่มัวหมองทำให้ใสได้โดยทำความสะอาด แต่ใจที่เศร้าหมองนั้น
ต้องทำอย่างไร ?
ก.
อย่าใจร้อน
ข.
อย่านอนใจ
ค.
ให้นึกถึงศีล
ง.
ให้กินข้าวได้
๔๙.
คำว่า “
ศีลช่วยทำให้รอด
” มีความหมายตรงกับข้อใด ?
ก.
ศีลสร้างสวรรค์แก่มนุษย์
ข.
ศีลสร้างความปลอดภัยแก่มนุษย์
ค.
ศีลสร้างความเสมอภาคแก่มนุษย์
ง.
ศีลสร้างความรุ่งเรืองแก่มนุษย์
๕๐.
ผู้ไม่สามารถเข้าจำอุโบสถศีลได้ ทำอย่างไรจึงจะได้รับผลบุญ
เช่นเดียวกับผู้สมาทานรักษา ?
ก.
ช่วยดูดวงทางวิปัสสนา
ข.
เล่าเรื่องนางสีดาให้ฟัง
ค.
นั่งสนทนาธรรมตามกาล
ง.
อ่านนวนิยายประโลมโลก
เอกสารอ้างอิง
เรื่องสอบธรรม ของสนามหลวงแผนกธรรม พ.ศ.๒๕๔๗. หน้า ๑๖๙-๑๗๗.
ข้อสอบสนามหลวง
พ.ศ. ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๑
พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๖๕
พ.ศ. ๒๕๖๖
พ.ศ. ๒๕๖๗
พ.ศ. ๒๕๖๘
พ.ศ. ๒๕๖๙
พ.ศ. ๒๕๗๐
พ.ศ. ๒๕๗๑
พ.ศ. ๒๕๗๒
พ.ศ. ๒๕๗๓
พ.ศ. ๒๕๗๔
พ.ศ. ๒๕๗๕
พ.ศ. ๒๕๗๖
พ.ศ. ๒๕๗๗
พ.ศ. ๒๕๗๘
พ.ศ. ๒๕๗๙
พ.ศ. ๒๕๘๐
พ.ศ. ๒๕๘๑
พ.ศ. ๒๕๘๒
พ.ศ. ๒๕๘๓
พ.ศ. ๒๕๘๔
พ.ศ. ๒๕๘๕
พ.ศ. ๒๕๘๖
พ.ศ. ๒๕๘๗
พ.ศ. ๒๕๘๘
พ.ศ. ๒๕๘๙
พ.ศ. ๒๕๙๐
พ.ศ. ๒๕๙๑
พ.ศ. ๒๕๙๒
พ.ศ. ๒๕๙๓
พ.ศ. ๒๕๙๔
พ.ศ. ๒๕๙๕
พ.ศ. ๒๕๙๖
พ.ศ. ๒๕๙๗
พ.ศ. ๒๕๙๘
พ.ศ. ๒๕๙๙
พ.ศ. ๒๖๐๐