รวมข้อสอบวิชาบาลีไวยากรณ์
ประโยค ป.ธ. ๓
ปัญหาและเฉลย บาลีไวยากรณ์
สอบ วันที่ ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๓
เวลา ๑๔.๑๕ - ๑๗.๑๕ น.

๑.
จงตอบคำถามต่อไปนี้

ก. สระ ๘ ตัว เกิดในฐานเดียวกันหรือต่างกันอย่างไรเรียกชื่อว่าอย่างไร

ข. พยัญชนะ ในคำว่า สณฺหา เกิดในฐานไหนเพราะเหตุไร

๒.
ในนิคคหิตสนธิ จะลบนิคคหิตสนธิได้ในที่เช่นไรและจะแปลงนิคคหิต
เป็น น ได้ในที่เช่นไร
ฯ จงตอบพร้อมทั้งยกตัวอย่างมาประกอบดู ฯ
ปมุตฺยตฺถิ, หตฺถเมวานุกนฺตต เป็นสนธิอะไร ฯ ตัดและต่ออย่างไร ฯ

๓.
จงตอบคำถามต่อไปนี้

ก. นามศัพท์ เมื่อนำไปใช้ในข้อความทั้งปวง จะต้องทำอย่างไร

ข. ศัพท์ว่า สทฺธาย, อตฺถาย, เป็นวิภัตติอะไรบ้าง ฯ
    ศัพท์ไหนเป็นลิงค์อะไร

ค. จตสฺโส สกุณา นก ๔ ตัว, ตีณิ ขนฺธา ขันธ์ ๓ ประกอบศัพท์อย่างนี้
    ถูกหรือไม่ ถ้าไม่ถูกจงแก้ไขให้ถูกต้อง ฯ

ง. เพราะเหตุไร ปุริสสัพพนาม จึงแบ่งเป็นบุรุษ ๓

จ. ภนฺเต กับ อาวุโส มีวิธีใช้ต่างกันอย่างไร

๔.
เมื่อเห็นศัพท์ที่ท่านประกอบด้วย วิภัตติ เช่น คจฺฉาม สังเกตอย่างไร จึงจะ
รู้ว่าเป็นวัตตมานาวิภัตติ หรือ ปัญจมีวิภัตติ
ปริวชฺชเย, ลชฺชเร, ปาปุณึส
ประกอบด้วยเครื่องปรุงอะไรบ้าง ฯ

๕. ปัจจัยกิตก์ตัวไหนบ้าง ใช้เป็นนามกิตก์ก็ได้ เป็นกิริยากิตก์ก็ได้ จงยกตัวอย่าง
มาประกอบด้วย
อนฺตรธาโน (มนฺโต), กจวรฉฑฺฑิกา (ทาสี), ปสาโท
ลงปัจจัยอะไร ฯ เป็นรูปและสาธนะอะไร ฯ จงตั้งวิเคราะห์มาดู ฯ

๖. ทิคุสมาส กับ ทวันทวสมาส ต่างกันอย่างไรจงตอบพร้อมทั้งยกตัวอย่าง
มาประกอบด้วย
สุธาปริกมฺมตา (โปกฺขรณิโย), ปญฺจวณฺณปทุมสญฺฉนฺนํ
(อุทกํ)
เป็นสมาสอะไร ฯ จงตั้งวิเคราะห์มาตามลำดับ ฯ

๗.

สมุหตัทธิต เป็นนามหรือเป็นคุณต่างจากตรัตยาทิตัทธิตอย่างไร
กายิโก (อาพาโธ), พลวตี (ตณฺหา), อิทฺธิมยํ (รูปํ) ลงปัจจัยอะไร ฯ
ในตัทธิตไหน ฯ จงตั้งวิเคราะห์มาดู ฯ



ให้เวลา  ๓  ชั่วโมง
เอกสารอ้างอิง
  เรื่อง สอบบาลี ของบาลีสนามหลวง พ.ศ. ๒๕๔๓. หน้า
  สนามหลวงแผนกบาลี. (๒๕๔๙). ปัญหา-เฉลยประโยคบาลีสนามหลวง
     ประโยค ๑-๒, ประโยค ป.ธ.๓. พ.ศ.๒๕๒๙-๒๕๔๙. หจก.สตาร์กรุ้ฟ.
     หน้า ๕๐๒-๕๐๖.
  สำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวง และคณะ. (๒๕๕๕) ปัญหาและเฉลย
     ประโยคบาลีสนามหลวง ชั้นประโยค ป.ธ.๓ พ.ศ.๒๕๐๐-๒๕๕๕.
     หน้า ๒๔๓-๓๔๗.

 

ข้อสอบสนามหลวง
พ.ศ. ๒๕๔๒
พ.ศ. ๒๕๔๓
พ.ศ. ๒๕๔๔
พ.ศ. ๒๕๔๕
พ.ศ. ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๘_๒
พ.ศ. ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๔๙_๒
พ.ศ. ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๐_๒
พ.ศ. ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๑_๒
พ.ศ. ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๒_๒
พ.ศ. ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๓_๒
พ.ศ. ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๔_๒
พ.ศ. ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๕_๒
พ.ศ. ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๖_๒
พ.ศ. ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๗_๒
พ.ศ. ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๘_๒
พ.ศ. ๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๕๙_๒
พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๐_๒
พ.ศ. ๒๕๖๑
พ.ศ. ๒๕๖๑_๒
พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๒_๒
พ.ศ. ๒๕๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๓_๒
พ.ศ. ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๖๔_๒
พ.ศ. ๒๕๖๕
พ.ศ. ๒๕๖๕_๒
พ.ศ. ๒๕๖๖
พ.ศ. ๒๕๖๖_๒
พ.ศ. ๒๕๖๗
พ.ศ. ๒๕๖๗_๒
พ.ศ. ๒๕๖๘
พ.ศ. ๒๕๖๘_๒
พ.ศ. ๒๕๖๙
พ.ศ. ๒๕๖๙_๒
พ.ศ. ๒๕๗๐
พ.ศ. ๒๕๗๐_๒
พ.ศ. ๒๕๗๑
พ.ศ. ๒๕๗๑_๒
พ.ศ. ๒๕๗๒
พ.ศ. ๒๕๗๒_๒
พ.ศ. ๒๕๗๓
พ.ศ. ๒๕๗๓_๒
พ.ศ. ๒๕๗๔
พ.ศ. ๒๕๗๔_๒
พ.ศ. ๒๕๗๕
พ.ศ. ๒๕๗๕_๒
พ.ศ. ๒๕๗๖
พ.ศ. ๒๕๗๖_๒
พ.ศ. ๒๕๗๗
พ.ศ. ๒๕๗๗_๒
พ.ศ. ๒๕๗๘
พ.ศ. ๒๕๗๘_๒
พ.ศ. ๒๕๗๙
พ.ศ. ๒๕๗๙_๒
พ.ศ. ๒๕๘๐
พ.ศ. ๒๕๘๐_๒
พ.ศ. ๒๕๘๑
พ.ศ. ๒๕๘๑_๒
พ.ศ. ๒๕๘๒
พ.ศ. ๒๕๘๒_๒
พ.ศ. ๒๕๘๓
พ.ศ. ๒๕๘๓_๒
พ.ศ. ๒๕๘๔
พ.ศ. ๒๕๘๔_๒
พ.ศ. ๒๕๘๕
พ.ศ. ๒๕๘๕_๒
พ.ศ. ๒๕๘๖
พ.ศ. ๒๕๘๖_๒
พ.ศ. ๒๕๘๗
พ.ศ. ๒๕๘๗_๒
พ.ศ. ๒๕๘๘
พ.ศ. ๒๕๘๘_๒
พ.ศ. ๒๕๘๙
พ.ศ. ๒๕๘๙_๒
พ.ศ. ๒๕๙๐
พ.ศ. ๒๕๙๐_๒
พ.ศ. ๒๕๙๑
พ.ศ. ๒๕๙๑_๒
พ.ศ. ๒๕๙๒
พ.ศ. ๒๕๙๒_๒
พ.ศ. ๒๕๙๓
พ.ศ. ๒๕๙๓_๒
พ.ศ. ๒๕๙๔
พ.ศ. ๒๕๙๔_๒
พ.ศ. ๒๕๙๕
พ.ศ. ๒๕๙๕_๒
พ.ศ. ๒๕๙๖
พ.ศ. ๒๕๙๖_๒
พ.ศ. ๒๕๙๗
พ.ศ. ๒๕๙๗_๒
พ.ศ. ๒๕๙๘
พ.ศ. ๒๕๙๘_๒
พ.ศ. ๒๕๙๙
พ.ศ. ๒๕๙๙_๒
พ.ศ. ๒๖๐๐
พ.ศ. ๒๖๐๐_๒
พ.ศ. ๒๕๐๐
พ.ศ. ๒๕๐๑
พ.ศ. ๒๕๐๒
พ.ศ. ๒๕๐๓
พ.ศ. ๒๕๐๔
พ.ศ. ๒๕๐๕
พ.ศ. ๒๕๐๖
พ.ศ. ๒๕๐๗
พ.ศ. ๒๕๐๘
พ.ศ. ๒๕๐๙
พ.ศ. ๒๕๑๐
พ.ศ. ๒๕๑๑
พ.ศ. ๒๕๑๒
พ.ศ. ๒๕๑๓
พ.ศ. ๒๕๑๔
พ.ศ. ๒๕๑๕
พ.ศ. ๒๕๑๖
พ.ศ. ๒๕๑๗
พ.ศ. ๒๕๑๘
พ.ศ. ๒๕๑๙
พ.ศ. ๒๕๒๐
พ.ศ. ๒๕๒๑
พ.ศ. ๒๕๒๒
พ.ศ. ๒๕๒๓
พ.ศ. ๒๕๒๔
พ.ศ. ๒๕๒๕
พ.ศ. ๒๕๒๖
พ.ศ. ๒๕๒๗
พ.ศ. ๒๕๒๘
พ.ศ. ๒๕๒๙
พ.ศ. ๒๕๓๐
พ.ศ. ๒๕๓๑
พ.ศ. ๒๕๓๒
พ.ศ. ๒๕๓๓
พ.ศ. ๒๕๓๔
พ.ศ. ๒๕๓๕
พ.ศ. ๒๕๓๖
พ.ศ. ๒๕๓๗
พ.ศ. ๒๕๓๘
พ.ศ. ๒๕๓๙
พ.ศ. ๒๕๔๐
พ.ศ. ๒๕๔๑