|
คุณนาม |
๑. |
แปลว่า ผู้ ตัว มี อัน เข้ากับนามนาม หรือสรรพนาม |
เรียกว่า |
วิเสสน |
๒. |
แปลว่า เป็น เข้ากับ ภู หุ อสฺ หรือ ชนฺ ธาตุ เป็นต้น |
" |
วิกติกตฺตา |
๓. |
แปลว่า ให้เป็น เข้ากับ กรฺ จรฺ หรือ คุปฺ ธาตุ เป็นต้น |
" |
วิกติกมฺม |
๔. |
แปลว่า ว่าเป็น เข้ากับ วจฺ วทฺ พฺรู ทิสฺ หรือ ญา ธาตุ" |
" |
สมฺภาวน |
|
|
|
|
|
นามนามและสัพพนาม |
ปฐมาวิภัตติ ใช้ในอรรถ ๖ อย่าง |
๑. |
เป็นประธานในประโยค |
กตฺตุวาจก |
เรียกว่า |
สยกตฺตา |
๒. |
เป็นประธานในประโยค |
เหตุกตฺตุวาจก |
" |
เหตุกตฺตา |
๓. |
เป็นประธานในประโยค |
กมฺมวาจก และ เหตุกมฺมวาจก |
" |
วุตฺตกมฺม |
๔. |
เป็นประธานในประโยค |
กิริยาปธานนัย
(ตฺวา ปัจจัยคุมพากย์) |
" |
ปกติกตฺตา |
๕. |
เป็นประธานในประโยค |
ที่ไม่มีกิริยาคุมพากย์ |
" |
ลิงฺคตฺถ |
๖. |
เป็นประธานในประโยค |
เปรียบเทียบ (ควบด้วย วิย
หรือ อิว ศัพท์) |
" |
อุปมาลิงฺคตฺถ |
ทุติยาวิภัตติ ใช้ในอรรถ ๖ อย่าง เข้ากับกิริยา |
|
|
|
|
|
๑. |
แปลว่า |
ซึ่ง เป็นกรรมของกิริยา |
เรียกว่า |
อวุตฺตกมฺม |
๒. |
" |
สู่ เป็นที่ไปถึง |
" |
สมฺปาปุณิยกมฺม |
๓. |
" |
ยัง เป็นผู้ถูกใช้ให้กระทำ |
" |
การิตกมฺม |
๔. |
" |
สิ้น, ตลอด เป็นที่สิ้นสุด |
" |
อจฺจนฺตสํโยค |
๕. |
" |
กะ, เฉพาะ เป็นผู้รับ |
" |
อกถิตกมฺม |
๖. |
แปล |
ไม่ออกสำเนียงอายตนิบาต |
" |
กิริยาวิเสสน |
ตติยาวิภัตติ ใช้ในอรรถ ๖ อย่าง เข้ากับนามบ้าง กิริยาบ้าง
อัพยยศัพท์บ้าง |
|
|
|
|
|
๑. |
แปลว่า |
ด้วย เป็นที่กระทำ |
เรียกว่า |
กรณ |
๒. |
" |
โดย, ตาม, ทาง, ข้าง |
" |
ตติยาวิเสสน |
๓. |
" |
อัน เป็นผู้กระทำ |
" |
อนภิหิตกตฺตา |
๔. |
" |
เพราะ เป็นเหตุ |
" |
เหตุ |
๕. |
" |
มี (เข้ากับนาม), ด้วยทั้ง (เข้ากับกิริยา) |
" |
อิตฺถมฺภูต |
๖. |
" |
ด้วย (เข้ากับ สห หรือ สทฺธึ ศัพท์) |
" |
สหตฺถตติยา |
จตุตถีวิภัตติ ใช้ในอรรถอย่างเดียว เข้ากับนามบ้าง กิริยาบ้าง |
|
|
|
|
|
|
แปลว่า |
แก่, เพื่อ, ต่อ เป็นที่มอบให้ |
เรียกว่า |
สมฺปทาน |
ปัญจมีวิภัตติ ใช้ในอรรถ ๒ อย่าง เข้ากับนามบ้าง กิริยาบ้าง
อัพยยศัพท์บ้าง |
|
|
|
|
|
๑. |
แปลว่า |
แต่, จาก, กว่า เป็นแดนออก |
เรียกว่า |
อปาทาน |
๒. |
" |
เหตุ, เพราะ เป็นเหตุ |
" |
เหตุ |
ฉัฏฐีวิภัตติ ใช้ในอรรถ ๖ อย่าง เข้ากับนาม |
|
|
|
|
|
๑. |
แปลว่า |
แห่ง, ของ เนื่องด้วยเป็นเจ้าของ |
เรียกว่า |
สามีสมฺพนฺธ |
๒. |
" |
แห่ง, ของ เข้ากับภาวศัพท์ ปัจจัยใน
ภาวตัทธิต และศัพท์ที่แปลว่า ความ
หรือ การ |
" |
ภาวาทิสมฺพนฺธ |
๓. |
" |
แห่ง เนื่องในหมู่ |
" |
สมุหสมฺพนฺธ |
๔. |
" |
แห่ง...หนา (เป็นที่ถอนออก) |
" |
นิทฺธารณ
(มี นิทฺธารณีย รับ) |
๕. |
" |
เมื่อ เป็นประธานในประโยคแทรก |
" |
อนาทร
(มี อนาทรกิริยา รับ) |
๖. |
" |
ซึ่ง เข้ากับนามกิตก์ (ณฺวุ, ตุ, ยุ ปัจจัย) |
" |
ฉฏฺฐีกมฺม |
สัตตมีวิภัตติ ใช้ในอรรถ ๑๒ อย่าง เข้ากับนามบ้าง กิริยาบ้าง |
|
|
|
|
|
๑. |
แปลว่า |
ใน เป็นที่กำบัง หรือเป็นที่ปกปิด |
เรียกว่า |
ปฏิจฺฉนฺนาธาร |
๒. |
" |
ใน เป็นที่ซึมซาบ หรือปนกันอยู่ |
" |
พฺยาปิกาธาร |
๓. |
" |
ใน เป็นที่อยู่อาศัย |
" |
วิสยาธาร |
๔. |
" |
ใน ไม่ลงในอรรถไหน เข้ากับกิริยา |
" |
อาธาร |
๕. |
" |
ใน ไม่ลงในอรรถไหน เข้ากับนาม |
" |
ภินฺนาธาร |
๖. |
" |
ใน, ณ เกี่ยวกับกาลเวลา |
" |
กาลสตฺตมี |
๗. |
" |
ในเพราะ เป็นเครื่องหมาย |
" |
นิมิตฺตสตฺตมี |
๘. |
" |
ใน...หนา เป็นที่ถอนออก |
" |
นิทฺธารณ
(มี นิทฺธารณีย รับ) |
๙. |
" |
ครั้นเมื่อ เป็นประธานในประโยคแทรก |
" |
ลกฺขณ
(มี ลกฺขณกิริยา รับ) |
๑๐. |
" |
เหนือ, บน, ที่ เป็นที่รองรับ |
" |
อุปสิเลสิกาธาร |
๑๑. |
" |
ใกล้, ณ เป็นที่ใกล้เคียง |
" |
สมีปาธาร |
๑๒. |
" |
อันว่า ลงในอรรถปฐมาวิภัตติ |
" |
สตฺตมีปจฺจตฺต-
สยกตฺตา |
อาลปนนาม
สัมพันธ์แล้วปล่อย |
|
|
|
|
|
|
แปลว่า |
แน่ะ, ดูก่อน, ข้าแต่ |
เรียกว่า |
อาลปน |
วิเสสน
เข้ากับนามบ้าง สัพพนามบ้าง |
|
|
|
|
|
๑. |
คุณนาม |
เรียกว่า |
วิเสสน |
๒. |
วิเสสนสัพพนาม |
" |
วิเสสน |
๓. |
นามกิตก์ ที่เป็นคุณนาม |
" |
วิเสสน |
๔. |
อนฺต และ มาน ปัจจัย อยู่หน้าตัวประธาน หรือ
ประกอบด้วยวิภัตติอื่นจากปฐมาวิภัตติ จะอยู่
หน้าหรือหลังตัวประธานก็ตาม |
" |
วิเสสน |
๕. |
ต อนีย และ ตพฺพ ปัจจัย ที่ไม่ได้เป็นกิริยา
คุมพากย์ หรือ วิกติกตฺตา |
" |
วิเสสน |
๖. |
ตูนาทิ ปัจจัย แปลไม่ออกสำเนียงปัจจัย
หลังนาม |
" |
วิเสสน |
๗. |
สมาสคุณนาม และ ตัทธิตคุณนาม |
" |
วิเสสน |
ประธานพิเศษไม่แจกวิภัตตินาม |
|
|
|
|
|
๑. |
ตถา |
อ. เหมือนอย่างนั้น |
เรียกว่า |
ลิงฺคตฺถ |
๒. |
เอวํ |
อ. อย่างนั้น |
" |
สจฺจวาจกลิงฺคตฺถ |
๓. |
อลํ |
อ. อย่าเลย |
" |
ปฏิเสธลิงฺคตฺถ |
๔. |
อลํ |
อ. พอละ |
" |
ลิงฺคตฺถ |
๕. |
อชฺช |
อ. วันนี้ |
" |
สตฺตมีปจฺจตฺตสยกตฺตา |
๖. |
อิทานิ |
อ. กาลนี้ |
" |
สตฺตมีปจฺจตฺตสยกตฺตา |
๗. |
ตทา |
อ. กาลนั้น |
" |
สตฺตมีปจฺจตฺตสยกตฺตา |
๘. |
ตุํ ปัจจัย |
ใช้เป็นประธาน เช่น กาตุํ |
" |
ตุมตฺถกตฺตา |
๙. |
สาธุ |
อ. ดีละ |
" |
ลิงฺคตฺถ |
กิริยาคุมพากย์ |
|
|
|
|
|
ได้แก่ กิริยา ดังต่อไปนี้ |
๑. |
กิริยาอาขยาต |
เรียกว่า |
อาขฺยาตบท |
|
คุมพากย์ในประโยค |
กตฺตุวาจก |
" |
อาขฺยาตบท กตฺตุวาจก |
|
" |
กมฺมวาจก |
" |
อาขฺยาตบท กมฺมวาจก |
|
" |
ภาววาจก |
" |
อาขฺยาตบท ภาววาจก |
|
" |
เหตุกตฺตุวาจก |
" |
อาขฺยาตบท เหตุกตฺตุวาจก |
|
" |
เหตุกมฺมวาจก |
" |
อาขฺยาตบท เหตุกมฺมวาจก |
๒. |
นามกิตก์ ได้แก่ ณฺย ปัจจัย
ใช้คุมพากย์ เช่น คารยฺหา |
" |
กิตบท กมฺมวาจก |
๓. |
กิริยากิตก์ ได้แก่ ต อนีย ตพฺพ
ปัจจัย
ใช้คุมพากย์ |
" |
กิตบท |
|
คุมพากย์ในประโยค |
กตฺตุวาจก |
" |
กิตบท กตฺตุวาจก |
|
" |
กมฺมวาจก |
" |
กิตบท กมฺมวาจก |
|
" |
ภาววาจก |
" |
กิตบท ภาววาจก |
|
" |
เหตุกตฺตุวาจก |
" |
กิตบท เหตุกตฺตุวาจก |
|
" |
เหตุกมฺมวาจก |
" |
กิตบท เหตุกมฺมวาจก |
๔. |
ตฺวา ปัจจัย ใช้คุมพากย์ |
" |
กิริยาปธานนัย |
๕. |
สกฺกา อลํ ลพฺภา ใช้คุมพากย์ |
" |
กิริยาบท |
|
คุมพากย์ในประโยค |
กมฺมวาจก |
" |
กิริยาบท กมฺมวาจก |
|
" |
ภาววาจก |
" |
กิริยาบท ภาววาจก |
๖. |
อนฺต มาน ปัจจัย ประกอบด้วย
ฉัฏฐีวิภัตติ เป็นกิริยาของประโยค
อนาทร |
" |
อนาทรกิริยา |
๗. |
อนฺต มาน ปัจจัย ประกอบด้วย
สตฺตมีวิภัตติ เป็นกิริยาของประโยค
ลักขณะ |
" |
ลกฺขณกิริยา |
กิริยาในระหว่าง |
|
|
|
|
|
ได้แก่ กิริยา ดังต่อไปนี้ |
๑. |
อนฺต มาน ปัจจัย ประกอบด้วยปฐมาวิภัตติ
อยู่หลังตัวประธาน |
เรียกว่า |
อพฺภนฺตรกิริยา |
๒. |
ตูนาทิ ปัจจัย (ตูน ตฺวา ตฺวาน) |
|
|
|
แปลว่า แล้ว แปลตามลำดับกิริยา |
" |
ปุพฺพกาลกิริยา |
|
แปลว่า แล้ว แปลหลังกิริยาคุมพากย์ |
" |
อปรกาลกิริยา |
|
แปลว่า เพราะ แปลหลังกิริยาคุมพากย์ |
" |
เหตุกาลกิริยา
หรือ เหตุ |
|
แปลไม่ออกสำเนียงปัจจัย ตามลำดับกิริยา |
" |
สมานกาลกิริยา |
|
แปลไม่ออกสำเนียงปัจจัย หลังกิริยา |
" |
กิริยาวิเสสน |
|
แปลว่า ครั้น...แล้ว |
" |
ปริโยสานกาลกิริยา |
อิติ ศัพท์ |
|
|
|
|
|
เรียกชื่อสัมพันธ์ได้ ๙ อย่าง ดังนี้ |
๑. |
แปลว่า |
ว่า...ดังนี้ อมความไว้เต็มที่ เข้ากับกิริยา |
เรียกว่า |
อาการ |
๒. |
" |
ว่า...ดังนี้ อมความไว้เต็มที่ เข้ากับนาม |
" |
สรูป |
๓. |
" |
ว่า...ดังนี้เป็นต้น อมความไว้ไม่หมด เข้ากับนาม หรือ กิริยา |
" |
อาทยตฺถ |
๔. |
" |
ชื่อว่า ใช้บอกชื่อ เข้ากับศัพท์ภายใน อิติ |
" |
สญฺญาโชตก |
๕. |
" |
เพราะเหตุนี้ วางไว้เป็นตัวอย่าง
(ไม่เข้าสัมพันธ์) |
" |
นิทสฺสน |
๖. |
" |
เพราะเหตุนั้น ในรูปวิเคราะห์
(ไม่เข้าสัมพันธ์) |
" |
เหตฺวตฺถ |
๗. |
" |
ด้วยประการฉะนี้ สรุปข้อความ (ไม่เข้าสัมพันธ์) |
" |
ปการตฺถ |
๘. |
" |
คือ อมความข้างใน แต่สัมพันธ์เข้าข้างนอก |
" |
สรูป |
๙. |
" |
แล ดังนี้แล เมื่อจบเรื่อง ถ้ามี อิติ ตัวเดียว |
" |
สมาปนฺน |
|
|
ถ้ามี อิติ ๒ ตัว อิติ ตัวแรก |
" |
สมาปนฺน |
|
|
|
อิติ ตัวที่ ๒ |
" |
ปริสมาปนฺน |
ประมวลชื่อสัมพันธ์นิบาตหมวดต่างๆ |
|
|
|
|
|
๑. |
นิบาตบอกอาลปนะ |
เรียกว่า |
อาลปน |
๒. |
นิบาตบอกกาล |
" |
กาลสตฺตมี |
๓. |
นิบาตบอกที่ |
" |
อาธาร |
๔. |
นิบาตบอกปริจเฉท |
" |
ปริจฺเฉทนตฺถ |
๕. |
นิบาตบอกความถาม |
" |
ปุจฺฉนตฺถ |
๖. |
นิบาตบอกความรับ |
" |
สมฺปฏิจฺฉนตฺถ |
๗. |
นิบาตบอกความเตือน |
" |
อุยฺโยชนตฺถ |
๘. |
นิบาตบอกความได้ยินเล่าลือ |
" |
อนุสฺสวนตฺถ |
๙. |
นิบาตบอกประการ |
" |
ปการตฺถ |
๑๐. |
นิบาตบอกอย่างอื่นแปลผิดจากปกติเดิมหลังกิริยา |
" |
กิริยาวิเสสน |
หิ, จ, ปน, ตุ ศัพท์ |
|
|
|
|
|
๑. |
หิ จ ปน ตุ |
แปลว่า ก็ |
เรียกว่า |
วากฺยารมฺภ หรือ
วากฺยารมฺภโชตก |
๒. |
หิ, จ, ปน |
" เหมือนอย่างว่า หลัง ยถา |
" |
ตปฺปาฏิกรณโชตก |
๓. |
จ, ปน |
" อนึ่ง |
" |
สมฺปิณฺฑนตฺถ |
๔. |
หิ, จ |
" จริงอยู่ |
" |
ทฬฺหีกรณโชตก |
๕. |
ปน |
" ถึงอย่างนั้น หลัง กามํ กิญฺจาปิ |
" |
อรุจิสูจนตฺถ |
๖. |
ปน |
" แต่ว่า ประธานตัวเดียวกัน |
" |
วิเสสโชตก |
๗. |
ปน |
" ส่วนว่า ต่างประธานกัน |
" |
ปกฺขนฺตรโชตก |
หิ ศัพท์ |
|
|
|
|
|
๑. |
แปลว่า |
ดังจะกล่าวโดยย่อ |
เรียกว่า |
สงฺเขปโชตก |
๒. |
" |
ดังจะกล่าวโดยพิสดาร |
" |
วิตฺถารโชตก |
๓. |
" |
เพราะว่า เหตุว่า |
" |
เหตุโชตก หรือ
การณโชตก |
๔. |
" |
ด้วยว่า |
" |
ผลโชตก |
จ ศัพท์ |
|
|
|
|
|
๑. |
แปลว่า |
ด้วย ควบบท |
เรียกว่า |
ปทสมุจฺจยตฺถ |
๒. |
" |
ด้วย ควบพากย์ |
" |
วากฺยสมุจฺจยตฺถ |
วา ศัพท์ |
|
|
|
|
|
๑. |
แปลว่า |
หรือ หรือว่า ควบบท |
เรียกว่า |
ปทวิกปฺปตฺถ |
๒. |
" |
หรือ หรือว่า ควบพากย์ |
" |
วากฺยวิกปฺปตฺถ |
วิย, อิว, ยถา, เสยฺยถา ศัพท์ |
|
|
|
|
|
|
แปลว่า |
ราวกะ, เพียงดัง, ฉันใด |
เรียกว่า |
อุปมาโชตก |
ตถา, เอวํ ศัพท์ |
|
|
|
|
|
|
แปลว่า |
ฉันนั้น |
เรียกว่า |
อุปเมยฺยโชตก |
น, โน, มา ศัพท์ |
|
|
|
|
|
๑. |
แปลว่า |
ไม่, อย่า ปฏิเสธเฉพาะศัพท์หรือบท |
เรียกว่า |
ปฏิเสธ |
๒. |
" |
หามิได้, อย่า ปฏิเสธทั้งประโยค |
" |
ปฏิเสธนตฺถ |
ว, เอว ศัพท์ |
|
|
|
|
|
|
แปลว่า |
เทียว, นั่นเทียว |
เรียกว่า |
อวธารณ |
กิร, ขลุ, สุทํ ศัพท์ |
|
|
|
|
|
|
แปลว่า |
ได้ยินว่า |
เรียกว่า |
อนุสฺสวนตฺถ |
เจ, ยทิ, สเจ, อถ, อปฺเปว นาม, ยนฺนูน ศัพท์ |
|
|
|
|
|
|
แปลว่า |
หากว่า, ผิว่า, ถ้าว่า, ชื่อแม้ไฉน กระไรหรอ |
เรียกว่า |
ปริกปฺปตฺถ |
ปน, กึ, กถํ, กจฺจิ, นุ, นนุ, อุทาหุ, อาทู, เสยฺยถีทํ ศัพท์ |
|
|
|
|
|
|
แปลว่า |
ก็ (กิมงฺคํ ปน), หรือ, อะไร, อย่างไร,
แลหรือ,
หนอ,
มิใช่หรือ, หรือว่า,
อย่างไรนี้ |
เรียกว่า |
ปุจฺฉนตฺถ |
อาม, อามนฺตา ศัพท์ |
|
|
|
|
|
|
แปลว่า |
เออ, ขอรับ |
เรียกว่า |
สมฺปฏิจฺฉนตฺถ |
อิงฺฆ, ตคฺฆ, หนฺท ศัพท์ |
|
|
|
|
|
|
แปลว่า |
เชิญเถิด, เอาเถิด |
เรียกว่า |
อุยฺโยชนตฺถ |
นุ, วต, สุ, โข, เว, หเว, โว ศัพท์ |
|
|
|
|
|
|
แปลว่า |
หนอ, สิ, แล, เว้ย, โว้ย อยู่ในคาถา |
เรียกว่า |
ปทปูรณ |
|
|
อยู่นอกคาถา |
" |
วจนาลงฺการ |
อญฺญทตฺถุ, กามํ, กามญฺจ, กิญฺจาปิ ศัพท์ |
|
|
|
|
|
|
แปลว่า |
โดยแท้, แม้หน่อยหนึ่ง, แม้ก็จริง |
เรียกว่า |
อนุคฺคหตฺถ |
จ, ปน, อโถ ศัพท์ |
|
|
|
|
|
|
แปลว่า |
อนึ่ง |
เรียกว่า |
สมฺปิณฺฑนตฺถ |
อโห ศัพท์ |
|
|
|
|
|
๑. |
แปลว่า |
โอ ดีใจ |
เรียกว่า |
อจฺฉริยตฺถ |
๒. |
" |
โอ เสียใจ |
" |
สํเวคตฺถ |
นีจํ, อุจฺจํ ศัพท์ |
|
|
|
|
|
|
แปลว่า |
ต่ำ, สูง |
เรียกว่า |
วิเสสน |
ปจฺฉา |
|
|
|
|
|
|
แปลว่า |
ในภายหลัง |
เรียกว่า |
กาลสตฺตมี |
สทฺธึ, สห ศัพท์ |
|
|
|
|
|
๑. |
แปลว่า |
กับ เข้ากับนาม |
เรียกว่า |
ทพฺพสมวาย |
๒. |
" |
กับ เข้ากับกิริยา |
" |
กิริยาสมวาย |
ตถาปิ, อถโข ศัพท์ |
|
|
|
|
|
|
แปลว่า |
แม้ถึงอย่างนั้น, โดยที่แท้แล |
เรียกว่า |
อรุจิสูจนตฺถ |
ปิ, อปิ ศัพท์ |
|
|
|
|
|
|
แปลว่า |
แม้, บ้าง |
เรียกว่า |
อเปกฺขตฺถ |
วา, อถวา, อปิจ ศัพท์ |
|
|
|
|
|
|
แปลว่า |
อีกอย่างหนึ่ง |
เรียกว่า |
อปรนัย |
จ ปน สองศัพท์ |
|
|
|
|
|
|
แปลว่า |
ก็แล (รวมถึงนิบาตที่แปลรวมกัน
แม้กลุ่มอื่น เช่น อถวา ปน เป็นต้น) |
เรียกว่า |
นิปาตสมุห |
ชื่อสัมพันธ์พิเศษ |
|
|
|
|
|
๑. |
ปุนปฺปุนํ |
บ่อยๆ |
เรียกว่า |
ปุนปฺปุนตฺถ |
๒. |
กึการณา |
เพราะเหตุอะไร |
" |
เหตุ |
๓. |
เอวํ |
อย่างนี้ |
" |
กิริยาวิเสสน |
๔. |
ยาว ก็ดี อญฺญตร ก็ดี อยู่ตัวเดียว |
" |
กิริยาวิเสสน |
๕. |
ยทิทํ ก็ดี เสยฺยถีทํ ก็ดี |
" |
ทสฺสนนิบาต |
๖. |
ยญฺเจ เสยฺโย แปลรวมกัน |
" |
กิริยาวิเสสน |
๗. |
ยํ ใด ที่ไม่ใช่วิเสสนะ อยู่และแปลตัวเดียว |
" |
กิริยาปรามาส |
๘. |
ยสฺมา |
เหตุใด ที่ไม่ใช่วิเสสนะ |
" |
กิริยาปรามาส |
๙. |
หิ |
เหตุใด |
" |
กิริยาปรามาส |
๑๐. |
ตุํ ปัจจัย |
เพื่ออัน |
" |
ตุมตฺถสมฺปทาน |
๑๑. |
นาม |
ชื่อว่า |
" |
สญฺญาโชตก |
๑๒. |
ชื่อว่า |
ไม่มี นาม ศัพท์ เช่น ติสฺโส
ชื่อว่า
ติสฺสะ |
" |
สญฺาวิเสสน |
๑๓. |
ชื่อว่า |
บทอธิบายอยู่หน้าตัวมีในคาถา |
" |
สญฺญา (สญฺญี) |
๑๔. |
คือว่า |
บทอธิบายอยู่หลังตัวมีในคาถา |
" |
วิวริย (วิวรณ) |
๑๕. |
มญฺเญ |
เห็นจะ |
" |
สํสยตฺถ |
๑๖. |
สาธุ |
ดังข้าพเจ้าขอโอกาส |
" |
อายาจนตฺถ |
๑๗. |
เตนหิ |
ถ้าอย่างนั้น |
" |
วิภตฺติปฏิรูปก |
๑๘. |
ว่าเป็น |
เช่น พฺราหฺมณํ ว่าเป็นพราหมณ์ |
" |
สมฺภาวน |
๑๙. |
คือ |
นามที่มีวิภัตติและวจนะเสมอกัน |
" |
วิเสสลาภี |
๒๐. |
คือ |
นามที่มีวิภัตติเสมอ แต่วจนะ
ไม่เสมอกัน |
" |
สรูป |
๒๑. |
วิเสสนต่างลิงค์ |
" |
วิเสสนลิงฺควิปลฺลาส |
๒๒. |
วิเสสนะต่างวจนะ |
" |
วิเสสนวจนวิปลฺลาส |
๒๓. |
วิเสสนะต่างทั้งลิงค์และวจนะ |
" |
วิเสสนลิงฺควจน-
วิปลฺลาส |
๒๔. |
อิติ ญาปนเหตุกํ มีอันให้รู้ว่า...ดังนี้เป็นเหตุ ฯ
อิติ ศัพท์ เรียกว่า สรูป ใน ญาปน-
ญาปนเหตุกํ เรียกว่า กิริยาวิเสสน (ในกิริยาหลัง) |
๒๕. |
สัมพันธ์ผสม วิภัตติใด แปลด้วยสำเนียงอายตนิบาต ของวิภัตติหมวดอื่น
เมื่อเวลาสัมพันธ์ ให้บอกชื่อหมวดวิภัตติไว้ข้างหน้า แล้วต่อด้วยสำเนียง
วิภัตติที่แปลไว้ข้างหลัง เช่น สุนเขหิ เถรํ ขาทาเปสฺสามิ (อ.เรา ยังสุนัข ท.
จักให้เคี้ยวกิน ซึ่งพระเถระ) สุนเขหิ ประกอบด้วย ตติยาวิภัตติ แต่แปลออก
สำเนียงอายตนิบาต เป็นทุติยาวิภัตติ) เรียกชื่อสัมพันธ์ว่า ตติยาการิตกมฺม เป็นต้น |
จบหลักสัมพันธ์ สำหรับท่องจำเพียงเท่านี้ |
|
หลักการสัมพันธ์ไทย |
หมวดชื่อสัมพันธ์ |
๑. ปฐมาวิภัตติ |
๒. ทุติยาวิภัตติ |
๓. ตติยาวิภัตติ |
๔. จตุตถีวิภัตติ |
๕. ปัญจมีวิภัตติ |
๖. ฉัฏฐีวิภัตติ |
๗. สัตตมีวิภัตติ |
๘. นาม,คุณนาม,สัพพนาม |
๙. กิริยาคุมพากย์ |
๑๐. กิริยาในระหว่าง |
๑๑. อิติ ศัพท์ |
๑๒. นิบาตต่างๆ |
๑๓. ประธานพิเศษ |
๑๔. ชื่อสัมพันธ์พิเศษ |
หมวดวิธีสัมพันธ์ |
๑. ความรู้พื้นฐาน |
๒. คำเชื่อมชื่อสัมพันธ์ |
๓. คำเชื่อมพิเศษ |
๔. เทคนิคการเขียน |
๕. การเดินสัมพันธ์ |
หมวด ประโยคพิเศษ |
๑. ประโยคกิริยาปธานนัย |
๒. ตุํ ปัจจัย เป็นประธาน |
๓. ตพฺพ ปัจจัย เป็นประธาน |
๔. สัตตมีวิภัตติ เป็นประธาน |
๕. เอวํ เป็นประธาน |
๖. อลํ เป็นประธาน |
๗. ตถา เป็นประธาน |
๘. สาธุ เป็นประธาน |
๙. ประโยค กิมงฺคํ ปน |
๑๐. ประโยค อาณาเปสิ |
หมวดเบ็ดเตล็ด ๑ |
๑. วากฺยารมฺภ, วากฺยารมฺภโชตก |
๒. วิกติกตฺตา |
๓. วิกติกมฺม |
๔. กิริยาวิเสสนนาม |
๕. สมฺภาวน |
๖. อิตฺถมฺภูต |
๗. สห, สทฺธึ ศัพท์ |
๘. ภาวาทิสมฺพนฺธ |
๙. ฉฏฐีกมฺม |
๑๐. ฉฏฐีกรณ |
๑๑. เหตุ |
๑๒. นิทฺธารณ-นิทฺธารณีย |
๑๓. ประโยค อนาทร |
๑๔. ประโยค ลกฺขณ |
๑๕. อาธาร, ภินฺนาธาร |
หมวดเบ็ดเตล็ด ๒ |
๑๖. กาลสตฺตมี |
๑๗. นิมิตฺตสตฺตมี |
๑๘. สกฺกา, อลํ |
๑๙. กิริยาปรามาส |
๒๐. สญฺญาวิเสสน |
๒๑. สญฺญาโชตก |
๒๒. ปริกปฺปตฺถ |
๒๓. อนุคฺคหตฺถ, อรุจิสูจนตฺถ |
๒๔. อุปมาโชตก, อุปเมยฺยโชตก
ตปฺปาฏิกรณโชตก |
๒๕. จ ศัพท์ ควบ |
๒๖. วา ศัพท์ ควบ |
๒๗. อุยฺโยชนตฺถ |
๒๘. อจฺฉริยตฺถ, สํเวคตฺถ |
๒๙. วจนาลงฺการ, ปทปูรณ |
๓๐. กิริยาวิเสสนนิบาต |
หมวดเบ็ดเตล็ด ๓ |
๓๑. วิเสสนวิปลฺลาส |
๓๒. วิเสสลาภี |
๓๓. สรูป |
๓๔. มญฺเญ ศัพท์ |
๓๕. อายาจนตฺถ |
๓๖. นิปาตสมุห |
๓๗. สัมพันธ์เข้าครึ่งศัพท์ |
๓๘. ปฏิเสธนตฺถ, ปฏิเสธ |
๓๙. สัมพันธ์หักวิภัตติ |
หมวดกิริยาในระหว่าง |
๑. อนฺต, มาน ปัจจัย |
๒. ตูนาทิปัจจัย |
๒.๑ ปุพฺพกาลกิริยา |
๒.๒ สมานกาลกิริยา |
๒.๓ อปรกาลกิริยา |
๒.๔ เหตุกาลกิริยา |
๒.๕ ปริโยสานกาลกิริยา |
๒.๖ วิเสสน |
๒.๗ กิริยาวิเสสน |
หมวด อิติ ศัพท์ |
๑. นิทสฺสน |
๒. เหตฺวตฺถ |
๓. ปการตฺถ |
๔. สมาปนฺน, ปริสมาปนฺน |
๕. อาทยตฺถ |
๖. สญฺญาโชตก |
๗. อาการ |
๘. สรูป |
๙. แปลว่า คือ |
หมวดคาถาและแก้อรรถ |
การสัมพันธ์คาถา |
๑. ปัฐยาวัตร |
๒. อินทรวิเชียร |
๓. อุเปนทรวิเชียร |
๔. อินทรวงศ์ |
๕. วังสัฏฐะ |
๖. วสันตดิลก |
การสัมพันธ์แก้อรรถ |
๑. อิติ ศัพท์ |
๒. วิวริย, วิวรณ |
๓. สญฺญี, สญฺญา |
๔. ประโยค ตสฺสตฺโถ |
๕. ประโยค อิทํ วุตฺตํ โหติ |
๖. ประโยค วินิจฉัย |
๗. ประโยค วิเคราะห์ |
๘. ประโยค อธิบาย |
|