รวมข้อสอบวิชาบาลีไวยากรณ์
ประโยค ป.ธ. ๓
ปัญหาและเฉลย บาลีไวยากรณ์
สอบ วันที่ ๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๗
เวลา ๑๔.๑๕ - ๑๗.๑๕ น.

๑.
บรรดาพยัญชนะอวรรคทั้งสิ้น พยัญชนะตัวไหน เกิดในฐานอะไรบ้าง
และบรรดาพยัญชนะเหล่านั้น พยัญชนะตัวไหนมีเสียงอย่างไร
จงชี้แจงมาดู ฯ

๒.
สนธิมีอุปการะแก่ภาษาบาลีไวยากรณ์อย่างไร ฯ คำว่า สาลวิโวตฺถตํ,
อริยญฺจฏฺฐงฺคิกํ เป็นสนธิอะไรบ้าง ตัดและต่ออย่างไร ฯ

๓.
อุปสัค กับ นิบาต ต่างกันอย่างไร เพราะเหตุไร จึงเรียกว่า อัพยยศัพท์
ศัพท์ต่อไปนี้คือ , อญฺญ, , เอก, อุภย เป็นนามประเภทไหน ฯ

๔.
การแยกวิภัตติอาขยาตออกเป็น ปรัสสบท และ อัตตโนบท เพื่อประสงค์
อะไร
จงแจก ภู ธาตุ ด้วยวิภัตติหมวดกาลาติปัตติวิภัตติ เฉพาะปรัสสบท
มาดู

๕. การกำหนดรูปของสาธนะนั้นๆ ต้องอาศัยอะไรเป็นหลัก จงอธิบาย
คำว่า อาราโม, สมฺมาวาจา, สาวตฺถีวาสี, เป็นรูป และสาธนะ อะไร
จงตอบพร้อมทั้งเขียนรูปวิเคราะห์มาดู ฯ

๖. บรรดาสมาสทั้ง ๖ มีกัมมธารยสมาสเป็นต้น สมาสไหนบ้าง เป็นนามล้วน สมาสไหนบ้าง เป็นคุณนามล้วน และสมาสไหนบ้าง เป็นได้ทั้งนามทั้งคุณ
คำว่า ปกฺขหตเอกจกฺขุปีฐสปฺปิกุณิภาวกุฏฺฐโรคาทิเภโท (ครุกาพาโธ) แปลว่าอะไร เป็นสมาสอะไรบ้าง จงเขียนรูปวิเคราะห์มาดู

๗. ปัจจัยในตัทธิตไหนบ้าง ใช้ประกอบกับศัพท์ที่เป็นสังขยาได้ และศัพท์ที่ประกอบด้วยปัจจัยเหล่านั้นแล้ว ใช้เป็นนามอะไรบ้าง
จงตอบพร้อมทั้งยกตัวอย่างมาประกอบด้วย ฯ


ให้เวลา  ๓  ชั่วนาฬิกา
เอกสารอ้างอิง
  เรื่อง สอบบาลี ของบาลีสนามหลวง พ.ศ. ๒๕๓๗. หน้า
  สนามหลวงแผนกบาลี. (๒๕๔๙). ปัญหา-เฉลยประโยคบาลีสนามหลวง
     ประโยค ๑-๒, ประโยค ป.ธ.๓. พ.ศ.๒๕๒๙-๒๕๔๙. หจก.สตาร์กรุ้ฟ.
     หน้า ๔๗๒-๔๗๖.
  สำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวง และคณะ. (๒๕๕๕) ปัญหาและเฉลย
     ประโยคบาลีสนามหลวง ชั้นประโยค ป.ธ.๓ พ.ศ.๒๕๐๐-๒๕๕๕.
     หน้า ๓๑๓-๓๑๗.

 

ข้อสอบสนามหลวง
พ.ศ. ๒๕๒๘
พ.ศ. ๒๕๒๙
พ.ศ. ๒๕๓๐
พ.ศ. ๒๕๓๑
พ.ศ. ๒๕๓๒
พ.ศ. ๒๕๓๓
พ.ศ. ๒๕๓๔
พ.ศ. ๒๕๓๕
พ.ศ. ๒๕๓๖
พ.ศ. ๒๕๓๗
พ.ศ. ๒๕๓๘
พ.ศ. ๒๕๓๙
พ.ศ. ๒๕๔๐
พ.ศ. ๒๕๔๑
พ.ศ. ๒๕๔๒
พ.ศ. ๒๕๔๓
พ.ศ. ๒๕๔๔
พ.ศ. ๒๕๔๕
พ.ศ. ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๘_๒
พ.ศ. ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๔๙_๒
พ.ศ. ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๐_๒
พ.ศ. ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๑_๒
พ.ศ. ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๒_๒
พ.ศ. ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๓_๒
พ.ศ. ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๔_๒
พ.ศ. ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๕_๒
พ.ศ. ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๖_๒
พ.ศ. ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๗_๒
พ.ศ. ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๘_๒
พ.ศ. ๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๕๙_๒
พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๐_๒
พ.ศ. ๒๕๖๑
พ.ศ. ๒๕๖๑_๒
พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๒_๒
พ.ศ. ๒๕๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๓_๒
พ.ศ. ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๖๔_๒
พ.ศ. ๒๕๖๕
พ.ศ. ๒๕๖๕_๒
พ.ศ. ๒๕๖๖
พ.ศ. ๒๕๖๖_๒
พ.ศ. ๒๕๖๗
พ.ศ. ๒๕๖๗_๒
พ.ศ. ๒๕๖๘
พ.ศ. ๒๕๖๘_๒
พ.ศ. ๒๕๖๙
พ.ศ. ๒๕๖๙_๒
พ.ศ. ๒๕๗๐
พ.ศ. ๒๕๗๐_๒
พ.ศ. ๒๕๗๑
พ.ศ. ๒๕๗๑_๒
พ.ศ. ๒๕๗๒
พ.ศ. ๒๕๗๒_๒
พ.ศ. ๒๕๗๓
พ.ศ. ๒๕๗๓_๒
พ.ศ. ๒๕๗๔
พ.ศ. ๒๕๗๔_๒
พ.ศ. ๒๕๗๕
พ.ศ. ๒๕๗๕_๒
พ.ศ. ๒๕๗๖
พ.ศ. ๒๕๗๖_๒
พ.ศ. ๒๕๗๗
พ.ศ. ๒๕๗๗_๒
พ.ศ. ๒๕๗๘
พ.ศ. ๒๕๗๘_๒
พ.ศ. ๒๕๗๙
พ.ศ. ๒๕๗๙_๒
พ.ศ. ๒๕๘๐
พ.ศ. ๒๕๘๐_๒
พ.ศ. ๒๕๘๑
พ.ศ. ๒๕๘๑_๒
พ.ศ. ๒๕๘๒
พ.ศ. ๒๕๘๒_๒
พ.ศ. ๒๕๘๓
พ.ศ. ๒๕๘๓_๒
พ.ศ. ๒๕๘๔
พ.ศ. ๒๕๘๔_๒
พ.ศ. ๒๕๘๕
พ.ศ. ๒๕๘๕_๒
พ.ศ. ๒๕๘๖
พ.ศ. ๒๕๘๖_๒
พ.ศ. ๒๕๘๗
พ.ศ. ๒๕๘๗_๒
พ.ศ. ๒๕๘๘
พ.ศ. ๒๕๘๘_๒
พ.ศ. ๒๕๘๙
พ.ศ. ๒๕๘๙_๒
พ.ศ. ๒๕๙๐
พ.ศ. ๒๕๙๐_๒
พ.ศ. ๒๕๙๑
พ.ศ. ๒๕๙๑_๒
พ.ศ. ๒๕๙๒
พ.ศ. ๒๕๙๒_๒
พ.ศ. ๒๕๙๓
พ.ศ. ๒๕๙๓_๒
พ.ศ. ๒๕๙๔
พ.ศ. ๒๕๙๔_๒
พ.ศ. ๒๕๙๕
พ.ศ. ๒๕๙๕_๒
พ.ศ. ๒๕๙๖
พ.ศ. ๒๕๙๖_๒
พ.ศ. ๒๕๙๗
พ.ศ. ๒๕๙๗_๒
พ.ศ. ๒๕๙๘
พ.ศ. ๒๕๙๘_๒
พ.ศ. ๒๕๙๙
พ.ศ. ๒๕๙๙_๒
พ.ศ. ๒๖๐๐
พ.ศ. ๒๖๐๐_๒
พ.ศ. ๒๕๐๐
พ.ศ. ๒๕๐๑
พ.ศ. ๒๕๐๒
พ.ศ. ๒๕๐๓
พ.ศ. ๒๕๐๔
พ.ศ. ๒๕๐๕
พ.ศ. ๒๕๐๖
พ.ศ. ๒๕๐๗
พ.ศ. ๒๕๐๘
พ.ศ. ๒๕๐๙
พ.ศ. ๒๕๑๐
พ.ศ. ๒๕๑๑
พ.ศ. ๒๕๑๒
พ.ศ. ๒๕๑๓
พ.ศ. ๒๕๑๔
พ.ศ. ๒๕๑๕
พ.ศ. ๒๕๑๖
พ.ศ. ๒๕๑๗
พ.ศ. ๒๕๑๘
พ.ศ. ๒๕๑๙
พ.ศ. ๒๕๒๐
พ.ศ. ๒๕๒๑
พ.ศ. ๒๕๒๒
พ.ศ. ๒๕๒๓
พ.ศ. ๒๕๒๔
พ.ศ. ๒๕๒๕
พ.ศ. ๒๕๒๖
พ.ศ. ๒๕๒๗