รวมข้อสอบวิชาบาลีไวยากรณ์
ประโยค ป.ธ. ๓
ปัญหาและเฉลย บาลีไวยากรณ์
สอบ วันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๐๗
เวลา ๑๔.๑๕ - ๑๗.๑๕ น.

๑.
อักขระ พยัญชนะ สระ แปลว่าอะไร หมายถึงอะไร พยัญชนะอะไรบ้าง
มีเสียงดังก้องกว่าพยัญชนะอื่นทั้งหมด ท่านจัดเข้าไว้ในหมู่ไหน ฯ

๒.
อาคโม เป็นสนธิกิริโยปกรณ์ในสนธิอะไรบ้าง และในสนธินั้นๆ มีหลักเกณฑ์
การลงอาคมไว้อย่างไร จงตอบพร้อมด้วยตัวอย่าง ฯ
ตปนฺตมาทิจฺจมิวนฺตลิกฺเขติ ตัดบทอย่างไร ฯ เป็นสนธิอะไรบ้าง ฯ

๓.
สังขยา คืออะไร ท่านจัดเป็นนาม ลิงค์ และวจนะ ไว้อย่างไร ฯ ภาษาไทยว่า
"บัดนี้ล่วงแล้ว ๒๕๐๗ ปี" ประกอบเป็นภาษาบาลีว่าอย่างไร ฯ

๔.
ศัพท์สมาส ได้แก่ ศัพท์พวกไหน ท่านจัดเป็นนามไว้อย่างไร ฯ
จตุราสีติโยชนสหสฺสคมฺภีโร (นีลมหาสมุทฺโท), นิพฺพิเสวนํ (จิตฺตํ)
เป็นสมาสอะไรบ้าง จงตั้งวิเคราะห์มาดูตามลำดับ ฯ

๕. ตทัสสัตถิตัทธิต มีปัจจัยกี่ตัว ๆ ไหนนิยมลงกับศัพท์ต่างกันอย่างไร จงยก
อุทาหรณ์มาประกอบด้วย ฯ นาครตา, เวสารชฺชํ เป็นตัทธิตอะไรบ้าง จงตั้ง
วิเคราะห์มาดู ฯ

๖. เอยฺย สัตตมีวิภัตติ เปลี่ยนรูปเป็นอะไรบ้าง จงตอบพร้อมด้วยอุทาหรณ์ ฯ
ทกฺเขมุ, กาหสิ, อเนฺวติ ศัพท์เดิมมาจากอะไร ฯ

๗. กิตก์ แบ่งปัจจัยออกเป็นกี่ฝ่าย ๆ ละเท่าไร ปัจจัยตัวไหนบ้างใช้เป็นกิริยา
คุมพากย์ได้ ฯ ในการกำหนดรูปของสาธนะนั้น ต้องอาศัยอะไรเป็นหลัก
จงอธิบาย ฯ อนฺตโก (มจฺจุ) ลงปัจจัยอะไร จงวิเคราะห์มาดู ฯ


ให้เวลา  ๓  ชั่วนาฬิกา
เอกสารอ้างอิง
  สำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวง และคณะ. (๒๕๕๕). ปัญหาและเฉลย
     ประโยคบาลีสนามหลวง ชั้นประโยค ป.ธ.๓ พ.ศ.๒๕๐๐-๒๕๕๕.
     หน้า ๒๐๗-๒๑๐.

 

ข้อสอบสนามหลวง
พ.ศ. ๒๕๐๐
พ.ศ. ๒๕๐๑
พ.ศ. ๒๕๐๒
พ.ศ. ๒๕๐๓
พ.ศ. ๒๕๐๔
พ.ศ. ๒๕๐๕
พ.ศ. ๒๕๐๖
พ.ศ. ๒๕๐๗
พ.ศ. ๒๕๐๘
พ.ศ. ๒๕๐๙
พ.ศ. ๒๕๑๐
พ.ศ. ๒๕๑๑
พ.ศ. ๒๕๑๒
พ.ศ. ๒๕๑๓
พ.ศ. ๒๕๑๔
พ.ศ. ๒๕๑๕
พ.ศ. ๒๕๑๖
พ.ศ. ๒๕๑๗
พ.ศ. ๒๕๑๘
พ.ศ. ๒๕๑๙
พ.ศ. ๒๕๒๐
พ.ศ. ๒๕๒๑
พ.ศ. ๒๕๒๒
พ.ศ. ๒๕๒๓
พ.ศ. ๒๕๒๔
พ.ศ. ๒๕๒๕
พ.ศ. ๒๕๒๖
พ.ศ. ๒๕๒๗
พ.ศ. ๒๕๒๘
พ.ศ. ๒๕๒๙
พ.ศ. ๒๕๓๐
พ.ศ. ๒๕๓๑
พ.ศ. ๒๕๓๒
พ.ศ. ๒๕๓๓
พ.ศ. ๒๕๓๔
พ.ศ. ๒๕๓๕
พ.ศ. ๒๕๓๖
พ.ศ. ๒๕๓๗
พ.ศ. ๒๕๓๘
พ.ศ. ๒๕๓๙
พ.ศ. ๒๕๔๐
พ.ศ. ๒๕๔๑
พ.ศ. ๒๕๔๒
พ.ศ. ๒๕๔๓
พ.ศ. ๒๕๔๔
พ.ศ. ๒๕๔๕
พ.ศ. ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๘_๒
พ.ศ. ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๔๙_๒
พ.ศ. ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๐_๒
พ.ศ. ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๑_๒
พ.ศ. ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๒_๒
พ.ศ. ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๓_๒
พ.ศ. ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๔_๒
พ.ศ. ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๕_๒
พ.ศ. ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๖_๒
พ.ศ. ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๗_๒
พ.ศ. ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๘_๒
พ.ศ. ๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๕๙_๒
พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๐_๒
พ.ศ. ๒๕๖๑
พ.ศ. ๒๕๖๑_๒
พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๒_๒
พ.ศ. ๒๕๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๓_๒
พ.ศ. ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๖๔_๒
พ.ศ. ๒๕๖๕
พ.ศ. ๒๕๖๕_๒
พ.ศ. ๒๕๖๖
พ.ศ. ๒๕๖๖_๒
พ.ศ. ๒๕๖๗
พ.ศ. ๒๕๖๗_๒
พ.ศ. ๒๕๖๘
พ.ศ. ๒๕๖๘_๒
พ.ศ. ๒๕๖๙
พ.ศ. ๒๕๖๙_๒
พ.ศ. ๒๕๗๐
พ.ศ. ๒๕๗๐_๒
พ.ศ. ๒๕๗๑
พ.ศ. ๒๕๗๑_๒
พ.ศ. ๒๕๗๒
พ.ศ. ๒๕๗๒_๒
พ.ศ. ๒๕๗๓
พ.ศ. ๒๕๗๓_๒
พ.ศ. ๒๕๗๔
พ.ศ. ๒๕๗๔_๒
พ.ศ. ๒๕๗๕
พ.ศ. ๒๕๗๕_๒
พ.ศ. ๒๕๗๖
พ.ศ. ๒๕๗๖_๒
พ.ศ. ๒๕๗๗
พ.ศ. ๒๕๗๗_๒
พ.ศ. ๒๕๗๘
พ.ศ. ๒๕๗๘_๒
พ.ศ. ๒๕๗๙
พ.ศ. ๒๕๗๙_๒
พ.ศ. ๒๕๘๐
พ.ศ. ๒๕๘๐_๒
พ.ศ. ๒๕๘๑
พ.ศ. ๒๕๘๑_๒
พ.ศ. ๒๕๘๒
พ.ศ. ๒๕๘๒_๒
พ.ศ. ๒๕๘๓
พ.ศ. ๒๕๘๓_๒
พ.ศ. ๒๕๘๔
พ.ศ. ๒๕๘๔_๒
พ.ศ. ๒๕๘๕
พ.ศ. ๒๕๘๕_๒
พ.ศ. ๒๕๘๖
พ.ศ. ๒๕๘๖_๒
พ.ศ. ๒๕๘๗
พ.ศ. ๒๕๘๗_๒
พ.ศ. ๒๕๘๘
พ.ศ. ๒๕๘๘_๒
พ.ศ. ๒๕๘๙
พ.ศ. ๒๕๘๙_๒
พ.ศ. ๒๕๙๐
พ.ศ. ๒๕๙๐_๒
พ.ศ. ๒๕๙๑
พ.ศ. ๒๕๙๑_๒
พ.ศ. ๒๕๙๒
พ.ศ. ๒๕๙๒_๒
พ.ศ. ๒๕๙๓
พ.ศ. ๒๕๙๓_๒
พ.ศ. ๒๕๙๔
พ.ศ. ๒๕๙๔_๒
พ.ศ. ๒๕๙๕
พ.ศ. ๒๕๙๕_๒
พ.ศ. ๒๕๙๖
พ.ศ. ๒๕๙๖_๒
พ.ศ. ๒๕๙๗
พ.ศ. ๒๕๙๗_๒
พ.ศ. ๒๕๙๘
พ.ศ. ๒๕๙๘_๒
พ.ศ. ๒๕๙๙
พ.ศ. ๒๕๙๙_๒
พ.ศ. ๒๖๐๐
พ.ศ. ๒๖๐๐_๒