ปัญหาและเฉลย
วิชาพุทธานุพุทธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันอังคาร ที่ ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๖
เวลา ๑๔.๐๐ - ๑๔.๕๐ น.
คำสั่ง :
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว ในช่องที่ต้องการ
ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑.
ประวัติของพระพุทธเจ้าและสาวก คือข้อใด ?
ก.
พุทธประวัติ
ข.
อนุพุทธประวัติ
ค.
เถรประวัติ
ง.
พุทธานุพุทธประวัติ
๒.
ความเชื่อถือข้อใด แสดงความเป็นผู้มีมานะถือตัวของชาวชมพูทวีป ?
ก.
โลกเที่ยง
ข.
โลกมีที่สุด
ค.
แบ่งชั้นวรรณะ
ง.
ตายแล้วเกิด
๓.
ชมพูทวีปแบ่งออกเป็นกี่แคว้นใหญ่ ?
ก.
๑๔ แคว้น
ข.
๑๕ แคว้น
ค.
๑๖ แคว้น
ง.
๑๗ แคว้น
๔.
ใครประกอบด้วยลักษณะแห่งเบญจกัลยาณี ?
ก.
พระนางมายา
ข.
พระนางพิมพา
ค.
พระนางกัญจนา
ง.
พระนางอมิตา
๕.
เมื่ออสิตดาบสไหว้พระสิทธัตถกุมาร ราชสกุลได้ทำอย่างไร ?
ก.
หมดศรัทธา
ข.
เกิดศรัทธา
ค.
มอบโอรสเป็นบริวาร
ง.
ยอมเป็นทาส
๖.
พราหมณ์ชื่ออะไร ทำนายเจ้าชายสิทธัตถะว่า ต้องออกบวชแน่นอน ?
ก.
รามะ
ข.
ยัญญะ
ค.
โกณฑัญญะ
ง.
สุทัตตะ
๗.
เจ้าชายสิทธัตถะ มีน้องชายร่วมพระราชบิดา คือใคร ?
ก.
พระอนุรุทธะ
ข.
พระภัททิยะ
ค.
พระอานนท์
ง.
พระนันทะ
๘.
เจ้าชายสิทธัตถะทรงเห็นคนแก่ จึงบรรเทาความเมาในอะไรได้ ?
ก.
วัย
ข.
ความไม่มีโรค
ค.
ชีวิต
ง.
ลาภยศ
๙.
ในวันที่พระมหาบุรุษเสด็จออกผนวช มีใครห้ามปราม ?
ก.
พระราชบิดา
ข.
พระนางพิมพา
ค.
นายฉันนะ
ง.
พญาวสวัตดีมาร
๑๐.
การบำเพ็ญทุกรกิริยาในวาระที่ ๓ พระมหาบุรุษทรงทำอย่างไร ?
ก.
กดพระทนต์
ข.
กดพระตาลุ
ค.
กลั้นลมหายใจ
ง.
อดพระกระยาหาร
๑๑.
ข้อใด ไม่ใช่ทศบารมีที่พระมหาบุรุษทรงใช้ผจญมาร ?
ก.
ทาน
ข.
ศีล
ค.
สมาธิ
ง.
ปัญญา
๑๒.
ญาณใด เป็นเหตุให้รู้การตายและเกิดของสัตว์ทั้งหลายได้ ?
ก.
จุตูปปาตญาณ
ข.
ทิพพจักขุ
ค.
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
ง.
อาสวักขยญาณ
๑๓.
ข้อใด ไม่นับเข้าในสหชาตของพระพุทธเจ้า ?
ก.
ม้ากัณฐกะ
ข.
ต้นโพธิ์
ค.
ขุมทรัพย์ทั้ง ๔
ง.
นันทกุมาร
๑๔.
ขณะเสวยวิมุตติสุขที่รัตนฆรเจดีย์ พระพุทธเจ้าทรงพิจารณาอะไร ?
ก.
พระสูตร
ข.
พระวินัย
ค.
พระอภิธรรม
ง.
เวไนยสัตว์
๑๕.
ขณะที่พระพุทธเจ้าประทับใต้ต้นราชายตนะทรงพบใคร ?
ก.
พราหมณ์หุหุกชาติ
ข.
ตปุสสะภัลลิกะ
ค.
พระยามุจลินท์
ง.
ยสกุลบุตร
๑๖.
ผู้ที่เข้าใจธรรมได้ เมื่อผู้อื่นอธิบายความ เปรียบกับดอกบัวเหล่าใด ?
ก.
บัวพ้นน้ำ
ข.
บัวเสมอน้ำ
ค.
บัวไม่พ้นน้ำ
ง.
บัวในตม
๑๗.
มัชฌิมาปฏิปทา มีความหมายตรงกับข้อใด ?
ก.
ทรมานตน
ข.
ทางสายกลาง
ค.
ที่สุดโต่ง
ง.
ที่สุดแห่งทุกข์
๑๘.
อนุปุพพีกถา พระพุทธเจ้าตรัสพรรณนาเรื่องอะไรก่อน ?
ก.
การรักษาศีล
ข.
การออกบวช
ค.
การให้ทาน
ง.
สวรรค์
๑๙.
โกลิตะทำกติกากับใครว่า ผู้ใดบรรลุธรรมวิเศษก่อนจงบอกแก่กัน ?
ก.
ก.ยสกุลบุตร
ข.
อัสสชิ
ค.
คยากัสสปะ
ง.
อุปติสสะ
๒๐.
พระสาวกรูปใด ได้ศิษย์ดีและเป็นกำลังพระศาสนา ?
ก.
พระอัสสชิ
ข.
พระยส
ค.
พระอานนท์
ง.
พระสารีบุตร
๒๑.
เหตุใด พระพุทธเจ้าทรงประกาศพระศาสนาในแคว้นมคธก่อน ?
ก.
ได้รับนิมนต์
ข.
เป็นทางผ่าน
ค.
เป็นเมืองเจริญ
ง.
มีเจ้าลัทธิอยู่มาก
๒๒.
พระเจ้าพิมพิสารได้ดวงตาเห็นธรรม เพราะฟังธรรมอะไร ?
ก.
รตนสูตร
ข.
มหาสมยสูตร
ค.
ธชัคคสูตร
ง.
อนุปุพพีกถาและอริยสัจ
๒๓.
ข้อใด เรียกว่า ปฏิปุจฉาพยากรณ์ ?
ก.
ถามทีละข้อ
ข.
ตอบทีละข้อ
ค.
ย้อนถามแล้วตอบ
ง.
ตอบทันที
๒๔.
พระสาวกรูปใด มีธรรมเป็นเครื่องอยู่เสมอด้วยพระพุทธเจ้า ?
ก.
พระอนุรุทธะ
ข.
พระอานนท์
ค.
พระมหากัสสปะ
ง.
พระอุบาลี
๒๕.
ข้อใด ไม่ใช่บุรพบิดรในการทำปุพพเปตพลีของพราหมณ์ ?
ก.
บุตร
ข.
บิดา
ค.
ปู่
ง.
ทวด
๒๖.
กษัตริย์ผู้ริเริ่มทำปุพพเปตพลีในพระพุทธศาสนา พระนามว่าอะไร ?
ก.
ปเสนทิโกศล
ข.
พิมพิสาร
ค.
อชาตศัตรู
ง.
สุทโธทนะ
๒๗.
ใครประกาศว่า การบูชาเพลิงที่ตนเคยประพฤติไม่มีแก่นสาร ?
ก.
พระมหากัสสปะ
ข.
พระยส
ค.
พระอุรุเวลกัสสปะ
ง.
พระนทีกัสสปะ
๒๘.
พระพุทธเจ้าทรงพยากรณ์ว่า อะไรเป็นภัยใหญ่ของสัตว์โลก ?
ก.
ลาภ
ข.
ยศ
ค.
สุข
ง.
ทุกข์
๒๙.
อะไรเป็นอุปสรรคของพระสาวกที่ไปประกาศพระศาสนาในยุคแรก ?
ก.
มีคนคัดค้าน
ข.
มีคนดูหมิ่น
ค.
เดินทางลำบาก
ง.
ให้บวชเองไม่ได้
๓๐.
บรรดามาณพ ๑๖ คน ใครบรรลุธรรมช้ากว่าเพื่อน ?
ก.
อชิตมาณพ
ข.
ปิงคิยมาณพ
ค.
อุทยมาณพ
ง.
โปสาลมาณพ
๓๑.
พระสารีบุตรบรรลุพระอรหัตผลที่ไหน ?
ก.
ถ้ำสุกรขาตา
ข.
ถ้ำสัตตบรรณ
ค.
ภูเขาอิสิคิลิ
ง.
กัลลวาลมุตตคาม
๓๒.
เหตุใด พระศาสดารับสั่งภิกษุผู้จะจาริกให้ไปลาพระสารีบุตรก่อน ?
ก.
เรียนกัมมัฏฐาน
ข.
ให้สั่งสอน
ค.
ส่งพระไปด้วย
ง.
ให้คาถากันภัย
๓๓.
อนาถปิณฑิกเศรษฐีได้ดวงตาเห็นธรรม ณ สถานที่ใด ?
ก.
เชตวัน
ข.
สีตวัน
ค.
เวฬุวัน
ง.
มิคทายวัน
๓๔.
พระอานนท์บรรลุโสดาปัตติผลเพราะฟังธรรมจากใคร ?
ก.
พระพุทธเจ้า
ข.
พระวัปปะ
ค.
พระปุณณมันตานีบุตร
ง.
พระอัสสชิ
๓๕.
ใครทูลขอว่า กุลบุตรที่จะบวชต้องให้บิดามารดาอนุญาตก่อน ?
ก.
พระเจ้าสุทโธทนะ
ข.
พระอานนท์
ค.
นางวิสาขา
ง.
อนาถปิณฑิกะ
๓๖.
พระศาสดาเสด็จกลับกรุงกบิลพัสดุ์ ตามคำทูลเชิญของใคร ?
ก.
พระกาฬุทายี
ข.
พระอุบาลี
ค.
พระอนุรุทธะ
ง.
พระอานนท์
๓๗.
เจ้าศากยะให้อุบาลีช่างกัลบกบวชก่อน เพราะเหตุใด ?
ก.
อายุมากกว่า
ข.
ทำกติกากันไว้
ค.
เพื่อละมานะ
ง.
บรรลุธรรมก่อน
๓๘.
คำว่า อรหันต์ เกิดขึ้นมาตั้งแต่ครั้งไหน ?
ก.
ก่อนพุทธกาล
ข.
สมัยพุทธกาล
ค.
หลังพุทธกาล
ง.
ปฐมสังคายนา
๓๙.
พระนางมหาปชาดีโคตมี แสดงความตั้งใจจะบวชอย่างไร ?
ก.
อดอาหาร
ข.
กลั้นลมหายใจ
ค.
ตัดพระเกศา
ง.
ออกไปอยู่ป่า
๔๐.
ใครรับครุธรรม ๘ ประการ เป็นคนแรก ?
ก.
พระนางปชาบดีโคตมี
ข.
นางเขมา
ค.
นางโรหิณี
ง.
นางปฏาจารา
๔๑.
ภิกษุณีรูปใด ได้รับยกย่องว่าเป็นผู้เลิศด้านพระวินัย ?
ก.
เขมาเถรี
ข.
อุบลวรรณาเถรี
ค.
ปฏาจาราเถรี
ง.
รูปนันทาเถรี
๔๒.
พระนางเขมาเถรีได้รับเอตทัคคะด้านใด ?
ก.
มีปัญญามาก
ข.
มีฤทธิ์มาก
ค.
ชำนาญสมาบัติ
ง.
มีความเพียรมาก
๔๓.
ดอกไม้ชนิดใด ตกจากสวรรค์ในวันพระศาสดาปรินิพพาน ?
ก.
ดอกปาริฉัตร
ข.
ดอกสาละ
ค.
ดอกบัวสวรรค์
ง.
ดอกมณฑารพ
๔๔.
พระกายของพระตถาคตผ่องใสยิ่งนัก ในกาลใด ?
ก.
ประสูติ
ข.
ตรัสรู้
ค.
ปรินิพพาน
ง.
ตรัสรู้และปรินิพพาน
๔๕.
ใครเป็นผู้ถวายผ้าสิงคิวรรณ ?
ก.
ตปุสสะ
ข.
ปุกกุสะ
ค.
ภัลลิกะ
ง.
จุนทกัมมารบุตร
๔๖.
ข้อใด ไม่จัดเป็นถูปารหบุคคล ?
ก.
พระพุทธเจ้า
ข.
พระอรหันต์
ค.
พระเจ้าจักรพรรดิ
ง.
พระอนาคามี
๔๗.
ทูตที่มาขอแบ่งพระสารีริกธาตุครั้งแรก มีกี่พระนคร ?
ก.
๖ พระนคร
ข.
๗ พระนคร
ค.
๘ พระนคร
ง.
๙ พระนคร
๔๘.
ใครเป็นอัครศาสนูปถัมภกในคราวทำสังคายนาครั้งแรก ?
ก.
พระเจ้าอชาตศัตรู
ข.
พระเจ้าอโศก
ค.
มัลลกษัตริย์
ง.
เจ้าลิจฉวี
๔๙.
การทำสังคายนาครั้งที่ ๒ ปรารภเรื่องอะไร ?
ก.
วัตถุ ๑๐
ข.
เดียรถีย์ปลอมบวช
ค.
จารึกธรรม
ง.
จ้วงจาบธรรมวินัย
๕๐.
อันตรธานใด เป็นลำดับสุดท้ายแห่งความเสื่อมในพระพุทธศาสนา ?
ก.
ปริยัติ
ข.
ปฏิบัติ
ค.
ปฏิเวธ
ง.
ธาตุ
เอกสารอ้างอิง
เรื่องสอบธรรม ของสนามหลวงแผนกธรรม พ.ศ.๒๕๕๖. หน้า ๒๖๐-๒๗๐.
ข้อสอบจริง สอบวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ เวลา ๑๔.๐๐ - ๑๔.๕๐ น.
ข้อสอบสนามหลวง
พ.ศ. ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๑
พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๖๕
พ.ศ. ๒๕๖๖
พ.ศ. ๒๕๖๗
พ.ศ. ๒๕๖๘
พ.ศ. ๒๕๖๙
พ.ศ. ๒๕๗๐
พ.ศ. ๒๕๗๑
พ.ศ. ๒๕๗๒
พ.ศ. ๒๕๗๓
พ.ศ. ๒๕๗๔
พ.ศ. ๒๕๗๕
พ.ศ. ๒๕๗๖
พ.ศ. ๒๕๗๗
พ.ศ. ๒๕๗๘
พ.ศ. ๒๕๗๙
พ.ศ. ๒๕๘๐
พ.ศ. ๒๕๘๑
พ.ศ. ๒๕๘๒
พ.ศ. ๒๕๘๓
พ.ศ. ๒๕๘๔
พ.ศ. ๒๕๘๕
พ.ศ. ๒๕๘๖
พ.ศ. ๒๕๘๗
พ.ศ. ๒๕๘๘
พ.ศ. ๒๕๘๙
พ.ศ. ๒๕๙๐
พ.ศ. ๒๕๙๑
พ.ศ. ๒๕๙๒
พ.ศ. ๒๕๙๓
พ.ศ. ๒๕๙๔
พ.ศ. ๒๕๙๕
พ.ศ. ๒๕๙๖
พ.ศ. ๒๕๙๗
พ.ศ. ๒๕๙๘
พ.ศ. ๒๕๙๙
พ.ศ. ๒๖๐๐