ปัญหาและเฉลย
วิชาพุทธานุพุทธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันจันทร์ ที่ ๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๒
เวลา ๑๔.๐๐ - ๑๔.๕๐ น.
คำสั่ง :
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑.
ประวัติของพระพุทธเจ้าและพระสาวก คือข้อใด ?
ก.
อนุพุทธประวัติ
ข.
พุทธประวัติ
ค.
พุทธานุพุทธประวัติ
ง.
ปัจเจกพุทธประวัติ
๒.
ชาวชมพูทวีปมีทิฏฐิมานะกล้า ชอบรังเกียจกันด้วยเหตุใด ?
ก.
เกียรติยศ
ข.
ความมั่งคั่งสมบัติ
ค.
ชาติและโคตร
ง.
ฐานะความเป็นอยู่
๓.
ส่วนกลางของประเทศเป็นที่อยู่ของชนชาติอริยกะ เรียกว่าอะไร ?
ก.
ปัจจันตประเทศ
ข.
มัชฌิมประเทศ
ค.
ปฐมประเทศ
ง.
ปัจฉิมประเทศ
๔.
ชมพูทวีป แบ่งออกเป็นกี่อาณาจักรใหญ่ ?
ก.
๑๐ อาณาจักร
ข.
๑๕ อาณาจักร
ค.
๑๖ อาณาจักร
ง.
๒๖ อาณาจักร
๕.
บุตรที่เกิดจากมารดาบิดาต่างวรรณะกัน เรียกว่าอะไร ?
ก.
พราหมณ์
ข.
แพศย์
ค.
ศูทร
ง.
จัณฑาล
๖.
ใครประกอบด้วยลักษณะแห่งเบญจกัลยาณี ?
ก.
พระนางสิริมหามายา
ข.
พระนางปชาบดีโคตมี
ค.
พระนางกัญจนา
ง.
พระนางอมิตา
๗.
สุเมธดาบส ได้รับพยากรณ์จากพระพุทธเจ้าพระองค์ใด ?
ก.
พระตัณหังกร
ข.
พระสรณังกร
ค.
พระทีปังกร
ง.
พระกัสสปะ
๘.
พระโพธิสัตว์บำเพ็ญบารมีครบถ้วน ขณะเสวยพระชาติเป็นใคร ?
ก.
พระมหาชนก
ข.
พระเตมีย์
ค.
พระมโหสถ
ง.
พระเวสสันดร
๙.
การตรวจดูอันยิ่งใหญ่ก่อนเสด็จอุบัติเป็นมนุษย์ของพระมหาสัตว์
ตรงกับข้อใด ?
ก.
ปัญจโกลาหล
ข.
เทโวโรหณะ
ค.
เบญจมหาบริจาค
ง.
มหาวิโลกนะ
๑๐.
ข้อใด ไม่จัดเข้าในมหาบุรุษลักษณะ ๓๒ ประการ ?
ก.
ฝ่าเท้ามีลายกงจักร
ข.
มีผิวดั่งทองคำ
ค.
มีพระทนต์ ๓๒ ซี่
ง.
มีลำคอกลมเสมอ
๑๑.
คำอุทานตอนประสูติว่า เราเป็นผู้เลิศในโลก เรียกว่าอะไร ?
ก.
สัจจวาจา
ข.
เจตนาวาจา
ค.
อาสภิวาจา
ง.
สุภาสิตวาจา
๑๒.
ข้อใด ไม่นับเข้าในสหชาตของพระพุทธเจ้า ?
ก.
ม้ากัณฐกะ
ข.
ต้นศรีมหาโพธิ์
ค.
ขุมทรัพย์ทั้ง ๔
ง.
พระนันทกุมาร
๑๓.
พระนามใด มีความหมายว่า พระผู้มีฉัพพรรณรังสีแผ่ซ่านออก
จากพระวรกาย ?
ก.
พระสิทธัตถะ
ข.
พระอังคีรส
ค.
พระโคดม
ง.
พระชินสีห์
๑๔.
ดาบสที่เข้าเยี่ยมพระมหาบุรุษคนแรกหลังประสูติ คือใคร ?
ก.
กาฬเทวิลดาบส
ข.
อาฬารดาบส
ค.
อุทกดาบส
ง.
กบิลดาบส
๑๕.
เมื่อดาบสกราบพระโอรส เหล่าราชตระกูลเห็นแล้วทำอย่างไร ?
ก.
ให้โอรสเป็นบริวาร
ข.
ให้ออกบวชตาม
ค.
ให้โอรสเป็นข้าทาส
ง.
เสื่อมศรัทธาดาบส
๑๖.
พระมหาบุรุษได้ปฐมฌาน ในขณะพระชนมายุเท่าไร ?
ก.
๕ พรรษา
ข.
๖ พรรษา
ค.
๗ พรรษา
ง.
๘ พรรษา
๑๗.
คนแก่ คนเจ็บ คนตาย และสมณะ รวมเรียกว่าอะไร ?
ก.
ธรรมทูต
ข.
เทวทูต
ค.
สมณทูต
ง.
ยมทูต
๑๘.
ในวันที่พระมหาบุรุษเสด็จออกผนวช มีใครคอยห้ามปรามไว้ ?
ก.
พระราชบิดา
ข.
พระนางพิมพา
ค.
นายฉันนะ
ง.
พญาวสวัสดีมาร
๑๙.
ใครเป็นพยานว่า การบำเพ็ญทุกรกิริยาไม่ใช่หนทางตรัสรู้ ?
ก.
ปัญจวัคคีย์
ข.
อาฬารดาบส
ค.
อุทกดาบส
ง.
ตปุสสะ ภัลลิกะ
๒๐.
ญาณเป็นเหตุให้ระลึกชาติในหนหลังได้ ตรงกับข้อใด ?
ก.
จุตูปปาตญาณ
ข.
นิพพิทาญาณ
ค.
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
ง.
อาสวักขยญาณ
๒๑.
พระมหาบุรุษพรรพชาแล้ว ทรงบำเพ็ญเพียรอยู่กี่ปี จึงตรัสรู้ ?
ก.
๔ ปี
ข.
๕ ปี
ค.
๖ ปี
ง.
๗ ปี
๒๒.
พระนามว่า สัมมาสัมพุทโธ เป็นพระนามที่ได้จากอะไร ?
ก.
เหล่าบริษัทถวาย
ข.
เหล่าสาวกถวาย
ค.
เหล่าเทพถวาย
ง.
พระคุณส่วนพระองค์
๒๓.
พราหมณ์ผู้มักตวาดผู้อื่นว่า หึ หึ ได้ทูลถามปัญหาพระพุทธเจ้า
ในขณะเสวยวิมุตติสุขที่ต้นไม้ใด ?
ก.
ต้นมหาโพธิ์
ข.
ต้นอชปาลนิโครธ
ค.
ต้นราชายตนะ
ง.
ต้นมุจลินท์
๒๔.
ตปุสสะและภัลลิกะ ได้ถวายข้าวสัตตุก้อนสัตตุผงที่ต้นไม้ใด ?
ก.
ต้นมหาโพธิ์
ข.
ต้นอชปาลนิโครธ
ค.
ต้นมุจลินท์
ง.
ต้นราชายตนะ
๒๕.
ข้อใด จัดเป็นเหตุให้เกิดทุกข์ในอริยสัจ ๔ ?
ก.
ราคะ
ข.
โทสะ
ค.
โมหะ
ง.
ตัณหา
๒๖.
คำว่า ดวงตาเห็นธรรม ตรงกับข้อใด ?
ก.
พุทธจักษุ
ข.
ธัมมจักษุ
ค.
ทิพยจักษุ
ง.
มังสจักษุ
๒๗.
ยสกุลบุตร มีสหายที่ตามออกบวชด้วยกันกี่คน ?
ก.
๔๕ คน
ข.
๕๐ คน
ค.
๕๔ คน
ง.
๕๕ คน
๒๘.
คำว่า สิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน เพราะไฟคือราคะ โทสะ โมหะ
เป็นใจความแห่งพระสูตรใด ?
ก.
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร
ข.
อนัตตลักขณะสูตร
ค.
เวทนาปริคคหสูตร
ง.
อาทิตตปริยายสูตร
๒๙.
บริวารมากเพราะน้ำใจ เป็นคุณสมบัติของพระสาวกรูปใด ?
ก.
พระอัญญาโกณฑัญญะ
ข.
พระเจ้าพิมพิสาร
ค.
พระอุรุเวลากัสสปะ
ง.
พระสารีบุตร
๓๐.
พระเจ้าแผ่นดินพระองค์ใด ตั้งความปรารถนาไว้ ๕ ประการ
แล้วประสบความสำเร็จ ?
ก.
พระเจ้าสุทโธทนะ
ข.
พระเจ้าพิมพิสาร
ค.
พระเจ้าอชาตศัตรู
ง.
พระเจ้าปเสนทิโกศล
๓๑.
ธรรมใดเกิดแต่เหตุ พระศาสดาแสดงเหตุและดังแห่งธรรมนั้น
ใครกล่าวกับใคร ?
ก.
อุปติสสะกับสัญชัย
ข.
พระอัสสชิกับโกลิตะ
ค.
โกลิตะกับสัญชัย
ง.
พระอัสสชิกับอุปติสสะ
๓๒.
เหตุใด พระสารีบุตรจึงกลับไปนิพพานที่บ้านเกิดของตนเอง ?
ก.
ไปเยี่ยมบ้าน
ข.
ไปเยี่ยมมารดา
ค.
ไปเทศน์โปรดมารดา
ง.
ไปรักษาตัว
๓๓.
เพื่อนดีมีหนึ่งถึงจะน้อย ดีกว่าร้อยเพื่อนคิดริษยา ใครกับใคร ?
ก.
ตปุสสะ ภัลลิกะ
ข.
ภัททิยะ อนุรุทธะ
ค.
อัสสชิ อุปติสสะ
ง.
อุปติสสะ โกลิตะ
๓๔.
พระพุทธเจ้าทรงสรรเสริญพระสาวกรูปใดว่า กตัญญูกตเวที ?
ก.
พระสารีบุตร
ข.
พระโมคคลลานะ
ค.
พระอุรุเวลากัสสปะ
ง.
พระมหากัสสปะ
๓๕.
พระดำรัสว่า มีธรรมเป็นเครื่องอยู่เสมอด้วยพระองค์ หมายถึง
พระสาวกรูปใด ?
ก.
พระสารีบุตร
ข.
พระอานนท์
ค.
พระมหากัจจายนะ
ง.
พระมหากัสสปะ
๓๖.
ข้อใด ไม่จัดเข้าในสหธรรมิกของบรรพชิต ?
ก.
ภิกษุ
ข.
ภิกษุณี
ค.
สิกขมานา
ง.
อุบาสก
๓๗.
พระพุทธเจ้าทรงประทานครุธรรม ๘ ประการ แก่ใครเป็นครั้งแรก ?
ก.
ปชาบดีโคตมีเถรี
ข.
เขมาเถรี
ค.
อุบลวัณณาเถรี
ง.
ปฎาจาราเถรี
๓๘.
ในพรรษาที่ ๔๕ พระพุทธเจ้าทรงอยู่จำ ณ สถานที่ใด ?
ก.
บ้านภัณฑุคาม
ข.
บ้านอัมพคาม
ค.
บ้านชัมพุคาม
ง.
บ้านเวฬุวคาม
๓๙.
มหาปเทส ๔ พระพุทธเจ้าทรงแสดง ณ สถานที่ใด ?
ก.
อานันทเจดีย์
ข.
ปาวาลเจดีย์
ค.
อจลเจดีย์
ง.
ปาสาณเจดีย์
๔๐.
พระกายของพระตถาคต ย่อมผ่องใสยิ่งนักในเวลาใด ?
ก.
ตอนประสูติ
ข.
ตอนตรัสรู้
ค.
ตอนปรินิพพาน
ง.
ตอนตรัสรู้ ปรินิพพาน
๔๑.
นาคาวโลก คือการเหลียวกลับมามองเมืองใด เป็นครั้งสุดท้าย ?
ก.
วัชชี
ข.
สาวัตถี
ค.
เวสาลี
ง.
กุสินารา
๔๒.
พระสาวกรูปใด ได้รับการบวชเป็นปัจฉิมสาวก ?
ก.
พระอานนท์
ข.
พระอนุรุทธะ
ค.
พระสุภัททะ
ง.
พระมหากัสสปะ
๔๓.
พระศาสดาตรัสแก่พระสาวกใดว่า ธรรมและวินัยที่เราแสดงแล้ว
จักเป็นศาสดาแห่งท่านทั้งหลาย โดยการล่วงไปแห่งเรา ?
ก.
พระอนุรุทธะ
ข.
พระมหากัสสปะ
ค.
พระอุบาลี
ง.
พระอานนท์
๔๔.
พระสาวกรูปใด วิสัชนาพระธรรมในคราวสังคยานาครั้งที่ ๑ ?
ก.
พระมหากัสสปะ
ข.
พระอานนท์
ค.
พระอนุรุทธะ
ง.
พระอุบาลี
๔๕.
ข้อใด ไม่นับเข้าในเจดีย์ ๔ ประเภท ?
ก.
สถูปเจดีย์
ข.
บริโภคเจดีย์
ค.
ธรรมเจดีย์
ง.
อุทเทสิกเจดีย์
๔๖.
ข้อใด ไม่จัดเข้าในถูปารหบุคคล ?
ก.
พระปัจเจกพุทธเจ้า
ข.
พระอรหันต์
ค.
พระเจ้าจักรพรรดิ
ง.
พระอนาคามี
๔๗.
เมืองที่ส่งทูตมาขอพระบรมสารีริกธาตุครั้งแรก มีจำนวนเท่าไร ?
ก.
๖ เมือง
ข.
๗ เมือง
ค.
๘ เมือง
ง.
๙ เมือง
๔๘.
พระราชาพระองค์ใด ถวายการอุปถัมภ์ในคราวสังคายนาครั้งที่ ๓?
ก.
พระเจ้ากาลาโศกราช
ข.
พระเจ้าอโศกมหาราช
ค.
พระเจ้าอชาตศัตรู
ง.
พระเจ้าเทวานัมปิยติสสะ
๔๙.
อันตรธานใด เป็นชั้นแรกแห่งความเสื่อมในพระพุทธศาสนา ?
ก.
ปริยัติอันตรธาน
ข.
ปฏิบัติอันตรธาน
ค.
ปฏิเวธอันตรธาน
ง.
ลิงคอันตรธาน
๕๐.
ความเสื่อมสูญไปแห่งสมณเพศ หมายถึงอันตรธานใด ?
ก.
ปริยัติอันตรธาน
ข.
ปฏิบัติอันตรธาน
ค.
ปฏิเวธอันตรธาน
ง.
ลิงคอันตรธาน
เอกสารอ้างอิง
เรื่องสอบธรรม ของสนามหลวงแผนกธรรม พ.ศ.๒๕๕๒. หน้า
ข้อสอบสนามหลวง
พ.ศ. ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๑
พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๖๕
พ.ศ. ๒๕๖๖
พ.ศ. ๒๕๖๗
พ.ศ. ๒๕๖๘
พ.ศ. ๒๕๖๙
พ.ศ. ๒๕๗๐
พ.ศ. ๒๕๗๑
พ.ศ. ๒๕๗๒
พ.ศ. ๒๕๗๓
พ.ศ. ๒๕๗๔
พ.ศ. ๒๕๗๕
พ.ศ. ๒๕๗๖
พ.ศ. ๒๕๗๗
พ.ศ. ๒๕๗๘
พ.ศ. ๒๕๗๙
พ.ศ. ๒๕๘๐
พ.ศ. ๒๕๘๑
พ.ศ. ๒๕๘๒
พ.ศ. ๒๕๘๓
พ.ศ. ๒๕๘๔
พ.ศ. ๒๕๘๕
พ.ศ. ๒๕๘๖
พ.ศ. ๒๕๘๗
พ.ศ. ๒๕๘๘
พ.ศ. ๒๕๘๙
พ.ศ. ๒๕๙๐
พ.ศ. ๒๕๙๑
พ.ศ. ๒๕๙๒
พ.ศ. ๒๕๙๓
พ.ศ. ๒๕๙๔
พ.ศ. ๒๕๙๕
พ.ศ. ๒๕๙๖
พ.ศ. ๒๕๙๗
พ.ศ. ๒๕๙๘
พ.ศ. ๒๕๙๙
พ.ศ. ๒๖๐๐