ปัญหาและเฉลย
วิชาพุทธานุพุทธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันจันทร์ ที่ ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘
เวลา ๑๔.๐๐ - ๑๔.๕๐ น.
คำสั่ง :
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑.
ปัญจมหาวิโลกนะที่พระมหาสัตว์ทรงพิจารณาถึง คือข้อใด ?
ก.
ทวีป ประเทศ ชนบท
สกุล มารดา
ข.
กาล ประเทศ ชนบท
สกุล มารดา
ค.
แคว้น ทวีป ชนบท
สกุล มารดา
ง.
กาล ทวีป ประเทศ
สกุล มารดา
๒.
ข้อใด แสดงความเป็นผู้มีมานะของชาวชมพูทวีป ?
ก.
ถือว่าโลกเที่ยง
ข.
ถือว่าโลกมีที่สุด
ค.
ถือชั้นวรรณะ
ง.
ถือว่าตายแล้วเกิด
๓.
ข้อใด ไม่ใช่สหชาติกับเจ้าชายสิทธัตถะ ?
ก.
พระนางยโสธรา
ข.
กาฬุทายีอำมาตย์
ค.
พระนางกีสาโคตมี
ง.
ม้ากัณฐกะ
๔.
พระอนุชาต่างพระมารดาของเจ้าชายสิทธัตถะ มีพระนามว่า
อะไร ?
ก.
พระอานนท์
ข.
พระนันทะ
ค.
พระนันทกะ
ง.
พระรูปนันทา
๕.
เจ้าชายสิทธัตถะ ทรงเปล่งอาสภิวาจาในคราวใด ?
ก.
ประสูติ
ข.
ตรัสรู้
ค.
แสดงปฐมเทศนา
ง.
ปรินิพพาน
๖.
ใครทำนายลักษณะพระมหาบุรุษเป็นคนแรก ?
ก.
อุทกดาบส
ข.
กบิลดาบส
ค.
อาฬารดาบส
ง.
อสิตดาบส
๗.
พราหมณ์ที่ทำนายเจ้าชายสิทธัตถกุมารมีคติเป็นอย่างเดียว
คือใคร ?
ก.
รามพราหมณ์
ข.
ยัญญพราหมณ์
ค.
โกณฑัญญพราหมณ์
ง.
สุทัตตพราหมณ์
๘.
พระมารดาของพระนางพิมพา มีพระนามว่าอะไร ?
ก.
พระนางปชาบดีโคตมี
ข.
พระนางปมิตา
ค.
พระนางกีสาโคตมี
ง.
พระนางอมิตา
๙.
เจ้าชายสิทธัตถะทรงเห็นการเกิด แก่ เจ็บ ตาย มีผลอย่างไร ?
ก.
หนีออกบวชทันที
ข.
ตัดความทุกข์ทั้งปวง
ค.
ปรึกษากับนายฉันนะ
ง.
บรรเทาความเมา ๓ ประการ
เสียได้
๑๐.
“
ราหุลํ ชาตํ พนฺธนํ ชาตํ
” มีความหมายว่าอย่างไร ?
ก.
บ่วงเกิดแล้ว เครื่องผูก
เกิดแล้ว
ข.
พระราหุลเป็นที่รัก
ค.
พระราหุลคือทรัพย์
ง.
พระราหุลประสูติแล้ว
๑๑.
ข้อใด ไม่ใช่บารมี ๑๐ ที่พระองค์ใช้ต่อสู้กับกิเลสมาร ?
ก.
ทาน
ข.
ศีล
ค.
สมาธิ
ง.
ปัญญา
๑๒.
การบำเพ็ญทุกรกิริยาวาระที่ ๒ คือข้อใด ?
ก.
ผ่อนลมหายใจเข้าออก
ข.
นอนบนหนาม
ค.
เอาลิ้นกดเพดาน
ง.
อดอาหาร
๑๓.
ต้นโพธิ์ที่ตรัสรู้ มีชื่อเดิมว่าอะไร ?
ก.
อัสสัตถพฤกษ์
ข.
ชมพูพฤกษ์
ค.
ราชพฤกษ์
ง.
ชัยพฤกษ์
๑๔.
เจดีย์ใด เรียกว่า “
เจดีย์เรือนแก้ว
” ?
ก.
อนิมิสเจดีย์
ข.
รัตนฆรเจดีย์
ค.
รัตนจงกรมเจดีย์
ง.
บริโภคเจดีย์
๑๕.
สัปดาห์ที่ ๗ ประทับที่ต้นราชายตนะ ทรงพบกับใคร ?
ก.
พราหมณ์หุหุกชาติ
ข.
ตปุสสะและภัลลิกะ
ค.
พระยานาคมุจลินท์
ง.
ยสกุลบุตร
๑๖.
การปฏิบัติทางสายกลาง คือข้อใด ?
ก.
อริยสัจ ๔
ข.
อินทรีย์ ๕
ค.
มรรคมีองค์ ๘
ง.
สัมมัปปธาน ๔
๑๗.
พระอัญญาโกณฑัญญะบรรลุพระอรหัต เพราะฟังธรรมอะไร ?
ก.
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร
ข.
อนัตตลักขณสูตร
ค.
อาทิตตปริยายสูตร
ง.
เวทนาปริคคหสูตร
๑๘.
ยสกุลบุตรพบพระพุทธเจ้า ในพระอิริยาบถใด ?
ก.
ประทับยืน
ข.
เสด็จจงกรม
ค.
ประทับนั่ง
ง.
บรรทม
๑๙.
คำว่า “
อรหันต์
” เรียกกันมาตั้งแต่เมื่อไร ?
ก.
ก่อนพุทธกาล
ข.
ครั้งพุทธกาล
ค.
หลังพุทธกาล
ง.
ครั้งทำปฐมสังคายนา
๒๐.
พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมอะไร โปรดพระเจ้าพิมพิสาร ?
ก.
อาทิตตปริยายสูตร
ข.
อนัตตลักขณสูตร
ค.
อนุปุพพีกถา จตุราริยสัจ
ง.
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร
๒๑.
ข้อใด เป็นชื่อสามุกกังสิกธรรม ธรรมที่พระพุทธองค์ทรงแสดง
เอง?
ก.
เวทนาปริคคหสูตร
ข.
วิสุทธิ ๗
ค.
กถาวัตถุ ๑๐
ง.
อริยสัจ ๔
๒๒.
พระโมคคัลลานะบรรลุพระอรหัต เพราะฟังพระธรรมเทศนาอะไร ?
ก.
อาทิตตปริยายสูตร
ข.
อุบายในการนั่งสมาธิ
ค.
อนุปุพพีกถา จตุราริยสัจ
ง.
อุบายแก้ง่วง ๘ ประการ
๒๓.
ตัณหักขยธรรม ธรรมเป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา พระพุทธเจ้าตรัส
ที่ไหน ?
ก.
ถ้ำสุกรขาตา
ข.
ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน
ค.
วัดเวฬุวัน
ง.
กัลลวาลมุตตคาม
๒๔.
คำว่า “
สิ่งทั้งปวงไม่ควรแก่ข้าพเจ้า ข้าพเจ้าไม่ชอบใจหมด
”
เป็นคำพูดของใคร ?
ก.
พราหมณ์หุหุกชาติ
ข.
ทีฆนขะ อัคคิเวสนะ
ค.
ตปุสสะ ภัลลิกะ
ง.
อุปกาชีวก
๒๕.
เวทนาปริคคหสูตร คือพระสูตรว่าด้วยเรื่องอะไร ?
ก.
อุบายเครื่องบรรเทา
ข.
อุบายเครื่องไม่ถือมั่น
ค.
อุบายเครื่องงดเว้น
ง.
อุบายเครื่องสำรวม
๒๖.
พระสารีบุตรเถระบรรลุพระอรหัตที่ไหน ?
ก.
ถ้ำสุกรขาตา ภูเขาคิชฌกูฏ
ข.
ถ้ำสัตตบรรณ เวภารบรรพต
ค.
ถ้ำสุกรขาตา เวภารบรรพต
ง.
ถ้ำสัตตบรรณ เวปุลลบรรพต
๒๗.
พระเจ้าจัณฑปัชโชตทรงสดับธรรมจากใคร เป็นครั้งแรก ?
ก.
พระพุทธเจ้า
ข.
พระมหากัจจายนะ
ค.
พระมหาโมคคัลลานะ
ง.
พระมหากัสสปะ
๒๘.
พระมหากัจจายนะได้รับเอตทัคคะด้านใด ?
ก.
แสดงธรรมไพเราะ
ข.
มีเสียงไพเราะ
ค.
อธิบายความย่อให้พิสดาร
ง.
เป็นพหูสูต
๒๙.
พระมหากัสสปะบวชที่ไหน ?
ก.
พหุปุตตนิโครธ
ข.
ถ้ำสัตตบรรณคูหา
ค.
ถ้ำสุกรขาตา
ง.
วัดเวฬุวัน
๓๐.
“
สิ่งใดเป็นมาร ท่านจงละความพอใจสิ่งนั้นเสีย
” พระองค์ตรัส
แก่ใคร ?
ก.
พระวักกลิ
ข.
พระโสณโกฬิวิสะ
ค.
พระอานนท์
ง.
พระราธะ
๓๑.
พระสาวกรูปใด ไม่ใช่ศิษย์ของพราหมณ์พาวรี ?
ก.
พระโมฆราช
ข.
พระปิงคิยะ
ค.
พระภัททิยะ
ง.
พระอุทยะ
๓๒.
พระสาวกรูปใด เปรียบวิสุทธิ ๗ ด้วยรถ ๗ ผลัด แก่พระสารีบุตร ?
ก.
พระอุรุเวลกัสสปะ
ข.
พระมหากัสสปะ
ค.
พระอานนท์
ง.
พระปุณณมันตานีบุตร
๓๓.
ฝนโบกขรพรรษตก ในคราวเสด็จไป ณ ที่ใด ?
ก.
กรุงราชคฤห์
ข.
กรุงกบิลพัสดุ์
ค.
กรุงเวสาลี
ง.
กรุงเทวทหะ
๓๔.
พระเจ้าสุทโธทนะฟังธรรมอะไร จึงบรรลุพระอรหัต ?
ก.
อนุปุพพีกถา
ข.
อนิจจาทิปฏิสังยุต
ค.
ธรรมปาลชาดก
ง.
เวสสันดรชาดก
๓๕.
พระอนุรุทธะออกบวช ขณะพระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่ไหน ?
ก.
ป่าอันธวัน
ข.
วัดเวฬุวัน
ค.
วัดเชตวัน
ง.
อนุปิยนิคม
๓๖.
พระพุทธเจ้าทรงเปรียบธรรมะใด เหมือนกระจกเงา ?
ก.
เมตตา
ข.
กรุณา
ค.
สมาธิ
ง.
ปัญญา
๓๗.
พระอานนท์ได้บรรลุโสดาปัตติผล เพราะฟังธรรมจากใคร ?
ก.
พระพุทธเจ้า
ข.
พระสารีบุตร
ค.
พระปุณณมันตานีบุตร
ง.
พระอัสสชิ
๓๘.
ใครเป็นพระอุปัชฌาย์ของพระปุณณมันตานีบุตร ?
ก.
พระอัญญาโกณฑัญญะ
ข.
พระอัสสชิ
ค.
พระมหากัสสปะ
ง.
พระกาฬุทายี
๓๙.
พระสาวกรูปใดตั้งอยู่ในกถาวัตถุ ๑๐ ประการ มีมักน้อย สันโดษ
ชอบสงัด เป็นต้น ?
ก.
พระยมกะ
ข.
พระปุณณมันตานีบุตร
ค.
พระสารีบุตร
ง.
พระพากุละ
๔๐.
ความเป็นผู้ฉลาดในภาษา เข้าใจพูดให้คนเลื่อมใส คือข้อใด ?
ก.
นิรุตติปฏิสัมภิทา
ข.
ธัมมปฏิสัมภิทา
ค.
อัตถปฏิสัมภิทา
ง.
ปฏิภาณปฏิสัมภิทา
๔๑.
“
อะไรเป็นเครื่องห้ามความอยากอันไหลไปสู่อารมณ์ต่างๆ
และจะละได้ เพราะธรรมอะไร
” เป็นปัญหาของใคร ?
ก.
อชิตมาณพ
ข.
ปิงคิยมาณพ
ค.
ติสสเมตเตยยมาณพ
ง.
ปุณณกมาณพ
๔๒.
ใครเป็นผู้แสดงธรรมุเทศ ๔ ?
ก.
พระสารีบุตร
ข.
พระอานนท์
ค.
พระรัฐบาล
ง.
พระมหากัจจายนะ
๔๓.
อภิญญาเทสิตธรรม คือข้อใด ?
ก.
โพธิปักขิยธรรม ๓๗
ข.
มรรคมีองค์ ๘
ค.
โพชฌงค์ ๗
ง.
อริยสัจ ๔
๔๔.
ภิกษุณีรูปแรกในพระพุทธศาสนา คือใคร ?
ก.
พระธรรมทินนาเถรี
ข.
พระปชาบดีโคตมีเถรี
ค.
พระเขมาเถรี
ง.
พระอุบลวัณณาเถรี
๔๕.
พระเขมาเถรีได้รับเอตทัคคะด้านใด ?
ก.
มีปัญญามาก
ข.
มีฤทธิ์มาก
ค.
ชำนาญสมาบัติ
ง.
มีความเพียรมาก
๔๖.
ภิกษุณีรูปใด ได้รับยกย่องว่าเลิศทางพระวินัย ?
ก.
พระภัททากัจจานาเถรี
ข.
พระรูปนันทาเถรี
ค.
พระปฏาจาราเถรี
ง.
พระกีสาโคตมีเถรี
๔๗.
ข้อใด เรียกว่าปฏิปุจฉาพยากรณ์ ?
ก.
ทรงย้อนถามแล้วจึง
แก้ปัญหา
ข.
ทรงแยกปัญหาแก้ทีละข้อ
ค.
ทรงแก้ปัญหานั้นโดย
ส่วนเดียว
ง.
ทรงระงับไม่แก้ปัญหานั้น
๔๘.
ใครเป็นอัครศาสนูปภัมภก คราวทำตติยสังคายนา ?
ก.
พระเจ้าอชาตศัตรู
ข.
พระเจ้าอโศกมหาราช
ค.
พระเจ้ากาลาโศกราช
ง.
พระเจ้าเทวานัมปิยติสสะ
๔๙.
การสังคายนาครั้งใด ปรารภพวกเดียรถีย์ปลอมเข้ามาบวช ?
ก.
ครั้งที่ ๑
ข.
ครั้งที่ ๒
ค.
ครั้งที่ ๓
ง.
ครั้งที่ ๔
๕๐.
สังคายนาครั้งที่ ๔ ทำที่ไหน ?
ก.
วาลุการาม
ข.
มหาวิหาร
ค.
อโศการาม
ง.
ถูปาราม
เอกสารอ้างอิง
เรื่องสอบธรรม ของสนามหลวงแผนกธรรม พ.ศ.๒๕๔๘. หน้า
ข้อสอบสนามหลวง
พ.ศ. ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๑
พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๖๕
พ.ศ. ๒๕๖๖
พ.ศ. ๒๕๖๗
พ.ศ. ๒๕๖๘
พ.ศ. ๒๕๖๙
พ.ศ. ๒๕๗๐
พ.ศ. ๒๕๗๑
พ.ศ. ๒๕๗๒
พ.ศ. ๒๕๗๓
พ.ศ. ๒๕๗๔
พ.ศ. ๒๕๗๕
พ.ศ. ๒๕๗๖
พ.ศ. ๒๕๗๗
พ.ศ. ๒๕๗๘
พ.ศ. ๒๕๗๙
พ.ศ. ๒๕๘๐
พ.ศ. ๒๕๘๑
พ.ศ. ๒๕๘๒
พ.ศ. ๒๕๘๓
พ.ศ. ๒๕๘๔
พ.ศ. ๒๕๘๕
พ.ศ. ๒๕๘๖
พ.ศ. ๒๕๘๗
พ.ศ. ๒๕๘๘
พ.ศ. ๒๕๘๙
พ.ศ. ๒๕๙๐
พ.ศ. ๒๕๙๑
พ.ศ. ๒๕๙๒
พ.ศ. ๒๕๙๓
พ.ศ. ๒๕๙๔
พ.ศ. ๒๕๙๕
พ.ศ. ๒๕๙๖
พ.ศ. ๒๕๙๗
พ.ศ. ๒๕๙๘
พ.ศ. ๒๕๙๙
พ.ศ. ๒๖๐๐