ปัญหาและเฉลย
วิชาพุทธานุพุทธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันพฤหัสบดี ที่ ๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๐
เวลา ๑๔.๐๐ - ๑๔.๕๐ น.
คำสั่ง :
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑.
การศึกษาพุทธานุพุทธประวัติ มีประโยชน์อย่างไร ?
ก.
รู้ความเป็นไป
ข.
รู้ปฏิปทาจริยาวัตร
ค.
ได้ทิฏฐานุคติ
ง.
ถูกทุกข้อ
๒.
ไตรเพท เป็นคัมภีร์การศึกษาของวรรณะใด ?
ก.
กษัตริย์
ข.
พราหมณ์
ค.
แพศย์
ง.
ศูทร
๓.
เพราะเหตุใด คนชมพูทวีปสมัยนั้น จึงมีทิฏฐิความเห็นที่
แตกต่างกัน ?
ก.
มีคณาจารย์มากมาย
ข.
มีการสอนลัทธิต่างกัน
ค.
มีการแบ่งชั้นวรรณะ
ง.
ถูกทุกข้อ
๔.
ความเห็นว่า ตายแล้วสูญ จัดเป็นทิฏฐิประเภทใด ?
ก.
อเหตุกทิฏฐิ
ข.
นัตถิกทิฏฐิ
ค.
อุจเฉททิฏฐิ
ง.
สัสสตทิฏฐิ
๕.
ตามลัทธิพราหมณ์ เชื่อว่าผู้ไม่มีบุตร จะมีคติเป็นอย่างไร ?
ก.
ตายแล้วสูญ
ข.
ตายแล้วตกนรก
ค.
ตายแล้วเกิดในสุคติ
ง.
มีคติไม่แน่นอน
๖.
พระเจ้าสุทโธทนะ ทรงครองราชย์สืบสันตติวงศ์ต่อจากใคร ?
ก.
พระเจ้าโอกกากราช
ข.
พระเจ้าชยเสนะ
ค.
พระเจ้าสีหหนุ
ง.
พระเจ้าอัญชนะ
๗.
พระอนุชาต่างมารดาของเจ้าชายสิทธัตถะ มีพระนามว่าอะไร ?
ก.
อานนท์
ข.
นันทะ
ค.
นันทกะ
ง.
มหานามะ
๘.
พระเจ้าสีหหนุและพระนางกัญจนา เป็นอะไรกับเจ้าชายสิทธัตถะ?
ก.
ตา ยาย
ข.
ปู่ ย่า
ค.
ลุง ป้า
ง.
พ่อตา แม่ยาย
๙.
ข้อใด ไม่ใช่บุพพนิมิต ๕ ประการ ที่ปรากฏแก่พระมหาสัตว์ ?
ก.
ทิพยภูษาที่ห่มมีสี
เศร้าหมอง
ข.
พระสรีระมีอาการชรา
ปรากฏ
ค.
พระเสโทไหลจาก
พระนลาฏ
ง.
ทิพยบุปผาที่ประดับ
เหี่ยวแห้ง
๑๐.
พระนางสิริมหามายาเสด็จไปเทวทหนคร เพราะเหตุใด ?
ก.
บวงสรวงเทวดา
ข.
ไหว้สิ่งศักดิ์สิทธิ์
ค.
เยี่ยมสกุลวงศ์
ง.
เยี่ยมมารดาบิดา
๑๑.
พระวาจาว่า “
เราเป็นเลิศ เป็นหนึ่ง ประเสริฐสุดในโลก
”
เรียกว่า...?
ก.
สัจจวาจา
ข.
มธุรวาจา
ค.
ปิยวาจา
ง.
อาสภิวาจา
๑๒.
พระมหาสัตว์มีพระรัศมีออกจากพระวรกาย จึงมีพระนามว่า... ?
ก.
อรหันต์
ข.
โคตมะ
ค.
อังคีรส
ง.
สิทธัตถะ
๑๓.
ใครมิใช่เป็นสหชาติกับเจ้าชายสิทธัตถะ ?
ก.
อานนท์
ข.
อุบาลี
ค.
กาฬุทายี
ง.
พิมพา
๑๔.
ราหุลํ ชาตํ พนฺธนํ ชาตํ มีความหมายว่าอย่างไร ?
ก.
บ่วง พันธะ ผูกแล้ว
ข.
บ่วง พันธะ รัดแล้ว
ค.
บ่วง พันธะ เกิดแล้ว
ง.
บ่วง พันธะ ดับแล้ว
๑๕.
ต้นพระศรีมหาโพธิที่ตรัสรู้ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอะไร ?
ก.
อัสสัตถพฤกษ์
ข.
ชมพูพฤกษ์
ค.
ราชพฤกษ์
ง.
ชัยพฤกษ์
๑๖.
ใครอุปัฏฐากพระมหาบุรุษ ขณะทรงบำเพ็ญทุกรกิริยา ?
ก.
ฉันนะ
ข.
สุชาดา
ค.
ปัญจวัคคีย์
ง.
ภัททวัคคีย์
๑๗.
ใครเป็นศิษย์ของสัญชัยปริพพาชก ?
ก.
โกลิตะ
ข.
ปุกกุสะ
ค.
ปิปผลิ
ง.
ราธะ
๑๘.
พระพุทธเจ้าทรงผจญกับธิดาของพระยามาร ณ สถานที่ใด ?
ก.
อนิมิสเจดีย์
ข.
รัตนจงกรมเจดีย์
ค.
ต้นอชปาลนิโครธ
ง.
ต้นราชายตนะ
๑๙.
โดยธรรมาธิษฐาน พระยามารคืออะไร ?
ก.
กามตัณหา
ข.
กามราคะ
ค.
วัตถุกาม
ง.
กิเลสกาม
๒๐.
สถานที่เพ่งดูต้นพระศรีมหาโพธิ มิได้กระพริบพระเนตรเรียกว่า..?
ก.
อนิมิสเจดีย์
ข.
รัตนฆรเจดีย์
ค.
รัตนจงกรมเจดีย์
ง.
รัตนเจดีย์
๒๑.
พระพุทธเจ้าประทับเสวยวิมุตติสุข หลังจากตรัสรู้กี่วัน ?
ก.
๗ วัน
ข.
๒๑ วัน
ค.
๒๘ วัน
ง.
๔๙ วัน
๒๒.
คำว่า อรหันต์ เป็นคำเรียกกันมาตั้งแต่เมื่อไร ?
ก.
ก่อนพุทธกาล
ข.
สมัยพุทธกาล
ค.
หลังพุทธกาล
ง.
หลังสังคายนา
๒๓.
ตัณหักขยธรรม ธรรมเป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา ตรัสที่ไหน ?
ก.
ถ้ำสุกรขาตา
ข.
ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน
ค.
วัดเวฬุวัน
ง.
กัลลวาลมุตตคาม
๒๔.
บุคคลผู้ไม่สามารถแนะนำให้รู้ตามได้ เปรียบด้วยบัวชนิดใด ?
ก.
บัวใต้น้ำ
ข.
บัวเสมอน้ำ
ค.
บัวพ้นน้ำ
ง.
บัวพ้นน้ำพร้อมบาน
๒๕.
ข้อใด กล่าวถึงพระอัญญาโกณฑัญญะไม่ถูกต้อง ?
ก.
เป็นปฐมสาวก
ข.
เป็นลุงปุณณมาณพ
ค.
เกิดที่บ้านโทณวัตถุ
ง.
เป็นบุตรกปิลพราหมณ์
๒๖.
ยสกุลบุตรพบพระพุทธเจ้า ในพระอิริยาบถใด ?
ก.
ประทับยืน
ข.
เสด็จจงกรม
ค.
ประทับนั่ง
ง.
บรรทม
๒๗.
แคว้นกาสีมีชื่อเสียงในเรื่องใด ?
ก.
ธัญญาหาร
ข.
สมุนไพร
ค.
อัญมณี
ง.
เสื้อผ้า
๒๘.
พระพุทธเจ้าทรงเน้นคนกลุ่มใดก่อน ในการประกาศพระศาสนา ?
ก.
หมู่สามัญชน
ข.
หมู่เศรษฐี
ค.
หมู่นักบวช
ง.
พระราชา เจ้าลัทธิ
๒๙.
ปิปผลิมาณพและภัททกาปิลานี คิดอย่างไรเกี่ยวกับการครอง
เรือนจึงตัดสินใจออกบวช ?
ก.
เป็นการสร้างบารมี
ข.
เป็นการคอยรับบาป
ค.
เป็นการสืบทอดมรดก
ง.
เป็นการสืบต่อสังสารวัฏ
๓๐.
การประกาศพระศาสนาของสาวกยุคแรก มีอุปสรรคอย่างไร ?
ก.
มีคนเลื่อมใสน้อย
ข.
ถูกเจ้าลัทธิต่อต้าน
ค.
ให้อุปสมบทเองไม่ได้
ง.
ทางสัญจรลำบากมาก
๓๑.
พระเจ้าพิมพิสารถวายอุทยานเวฬุวัน เพราะทรงเห็นอย่างไร ?
ก.
อยู่ไกลจากพระนคร
ข.
เหมาะแก่สมณวิสัย
ค.
เป็นสถานที่กว้างขวาง
ง.
มีคนอยู่อาศัยมาก
๓๒.
ข้อใด กล่าวถึงพระเจ้าพิมพิสารไม่ถูกต้อง ?
ก.
เป็นพระอริยบุคคล
ข.
ถวายวัดแห่งแรก
ค.
พระราชาแคว้นมคธ
ง.
เป็นปฐมอุบาสก
๓๓.
พระเจ้าแผ่นดินผู้ครองแคว้นโกศล คือใคร ?
ก.
พระเจ้าสุปปพุทธะ
ข.
พระเจ้าปเสนทิโกศล
ค.
พระเจ้าสุทโธทนะ
ง.
พระเจ้าพิมพิสาร
๓๔.
พระเทวทัตไม่สามารถบรรลุมรรคผล เพราะเหตุใด ?
ก.
มีมานะว่าเป็นกษัตริย์
ข.
คิดจะตั้งตนเป็นใหญ่
ค.
ลาภสักการะครอบงำ
ง.
สำคัญตนว่ามีความรู้
๓๕.
ใครบอกวิธีการทำนาให้เจ้าชายอนุรุทธะได้รับรู้ ?
ก.
พระเจ้ามหานามะ
ข.
พระเจ้าภัททิยะ
ค.
พระเจ้าสุกโกทนะ
ง.
พระเจ้าอมิโตทนะ
๓๖.
“
อะไรเป็นภัยของสัตวโลก
” ตรัสตอบอชิตมาณพว่าอย่างไร ?
ก.
ลาภเป็นภัยใหญ่
ข.
ทุกข์เป็นภัยใหญ่
ค.
ยศเป็นภัยใหญ่
ง.
ทรัพย์เป็นภัยใหญ่
๓๗.
พระสาวกคู่ใด สนทนาเรื่องการตายของพระขีณาสพ ?
ก.
พระอัสสชิ พระอนุรุทธะ
ข.
พระอานนท์ พระอุบาลี
ค.
พระสารีบุตร พระยมกะ
ง.
พระยสะ พระโมคคัลลานะ
๓๘.
พระสาวกรูปใด ได้ศิษย์ดีและเป็นกำลังสำคัญของพระศาสนา ?
ก.
พระอัสสชิ
ข.
พระยสะ
ค.
พระอานนท์
ง.
พระสารีบุตร
๓๙.
บุคคลใด พระพุทธเจ้าจัดให้เป็นทิศเบื้องหน้า ?
ก.
บิดา มารดา
ข.
ครู อาจารย์
ค.
บุตร ภรรยา
ง.
มิตร สหาย
๔๐.
พระรัฐบาลใช้วิธีใด จึงได้บวชเป็นพระภิกษุ ?
ก.
หนีบวชซึ่งหน้า
ข.
อดอาหาร
ค.
บวชตามเพื่อน
ง.
ขอร้องบิดามารดา
๔๑.
พระสาวกรูปใด ไม่ได้บรรลุพระอรหัตในอิริยาบถทั้ง ๔ ?
ก.
พระสารีบุตร
ข.
พระอานนท์
ค.
พระอุบาลี
ง.
พระอนุรุทธะ
๔๒.
พระสาวกรูปใด นิพพานก่อนพระศาสดา ?
ก.
พระอานนท์
ข.
พระอนุรุทธะ
ค.
พระมหากัสสปะ
ง.
พระโมคคัลลานะ
๔๓.
พระสาวกรูปใด สนับสนุนให้มีการบวชภิกษุณีครั้งแรก ?
ก.
พระมหากัสสปะ
ข.
พระสารีบุตร
ค.
พระอานนท์
ง.
พระอุบาลี
๔๔.
พระพุทธเจ้า ทรงจำพรรษานานที่สุด ณ เมืองใด ?
ก.
พาราณสี
ข.
เวสาลี
ค.
สาวัตถี
ง.
กุสินารา
๔๕.
ดอกไม้ชนิดใด เป็นเครื่องบ่งบอกว่าพระศาสดาปรินิพพานแล้ว ?
ก.
ดอกบัว
ข.
ดอกสาละ
ค.
ดอกโศก
ง.
ดอกมณฑารพ
๔๖.
ข้อใด ไม่จัดเข้าในสังเวชนียสถาน ๔ ?
ก.
สถานที่ประสูติ
ข.
สถานที่ตรัสรู้
ค.
สถานที่ปรินิพพาน
ง.
สถานที่ถวายพระเพลิง
๔๗.
อุทเทสิกเจดีย์ หมายถึงข้อใด ?
ก.
พระพุทธรูป
ข.
พระบรมสารีริกธาตุ
ค.
พระพุทธบริขาร
ง.
พระไตรปิฏก
๔๘.
ข้อใด ไม่จัดเข้าในถูปารหบุคคล ๔ จำพวก ?
ก.
พระพุทธเจ้า
ข.
อรหันตสาวก
ค.
พระเจ้าจักรพรรดิ
ง.
พระราชา
๔๙.
สังคายนาครั้งใด มีการจารึกคำสอนลงในใบลาน ?
ก.
ครั้งที่ ๒
ข.
ครั้งที่ ๓
ค.
ครั้งที่ ๔
ง.
ครั้งที่ ๕
๕๐.
ข้อใด กล่าวถึงสังคายนาครั้งที่ ๓ ได้ถูกต้อง ?
ก.
หลังปรินิพพาน ๒๑๘ ปี
ข.
ประชุมทำ ณ อโศการาม
ค.
ใช้เวลาทำนาน ๙ เดือน
ง.
ถูกทุกข้อ
เอกสารอ้างอิง
เรื่องสอบธรรม ของสนามหลวงแผนกธรรม พ.ศ.๒๕๕๐. หน้า ๒๒๔-๒๓๔.
ข้อสอบสนามหลวง
พ.ศ. ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๑
พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๖๕
พ.ศ. ๒๕๖๖
พ.ศ. ๒๕๖๗
พ.ศ. ๒๕๖๘
พ.ศ. ๒๕๖๙
พ.ศ. ๒๕๗๐
พ.ศ. ๒๕๗๑
พ.ศ. ๒๕๗๒
พ.ศ. ๒๕๗๓
พ.ศ. ๒๕๗๔
พ.ศ. ๒๕๗๕
พ.ศ. ๒๕๗๖
พ.ศ. ๒๕๗๗
พ.ศ. ๒๕๗๘
พ.ศ. ๒๕๗๙
พ.ศ. ๒๕๘๐
พ.ศ. ๒๕๘๑
พ.ศ. ๒๕๘๒
พ.ศ. ๒๕๘๓
พ.ศ. ๒๕๘๔
พ.ศ. ๒๕๘๕
พ.ศ. ๒๕๘๖
พ.ศ. ๒๕๘๗
พ.ศ. ๒๕๘๘
พ.ศ. ๒๕๘๙
พ.ศ. ๒๕๙๐
พ.ศ. ๒๕๙๑
พ.ศ. ๒๕๙๒
พ.ศ. ๒๕๙๓
พ.ศ. ๒๕๙๔
พ.ศ. ๒๕๙๕
พ.ศ. ๒๕๙๖
พ.ศ. ๒๕๙๗
พ.ศ. ๒๕๙๘
พ.ศ. ๒๕๙๙
พ.ศ. ๒๖๐๐