ปัญหาและเฉลย
วิชาพุทธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันอาทิตย์ ที่ ๓๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๖
เวลา ๑๔.๐๐ - ๑๔.๕๐ น.
คำสั่ง :
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑.
ประเทศใด ไม่ได้อยู่ในดินแดนชมพูทวีป ?
ก.
เนปาล
ข.
ศรีลังกา
ค.
อินเดีย
ง.
ปากีสถาน
๒.
ชนเผ่าใด เป็นชาวพื้นเมืองในชมพูทวีป ?
ก.
มิลักขะ
ข.
อริยกะ
ค.
อารยัน
ง.
อินเดียแดง
๓.
ชนเหล่าใดในสังคมอินเดีย ถูกเหยียดหยามมากที่สุด ?
ก.
พราหมณ์
ข.
แพศย์
ค.
ศูทร
ง.
จัณฑาล
๔.
พระราชบิดาของเจ้าชายสิทธัตถะ มีพระนามว่าอะไร ?
ก.
พระเจ้าสีหหนุ
ข.
พระเจ้าสุกโกทนะ
ค.
พระเจ้าสุทโธทนะ
ง.
พระเจ้าสุปปพุทธะ
๕.
คำว่า
“ สิทธัตถะ ”
มีความหมายว่าอย่างไร ?
ก.
ผู้มีโภคะ
ข.
ผู้มีความต้องการสำเร็จ
ค.
ผู้มีความรู้
ง.
ผู้มีความประพฤติดี
๖.
หลังจากเจ้าชายสิทธัตถะประสูติได้ ๗ วัน มีเหตุการณ์ใดเกิดขึ้น ?
ก.
ขนานพระนาม
ข.
พระมารดาสิ้นพระชนม์
ค.
อสิตดาบสมาเยี่ยม
ง.
ทำนายพระลักษณะ
๗.
ดาบสที่ทำนายลักษณะของเจ้าชายสิทธัตถะเป็น ๒ อย่างชื่อว่าอะไร ?
ก.
อสิตดาบส
ข.
อาฬารดาบส
ค.
อุทกดาบส
ง.
กบิลดาบส
๘.
ข้อใด ไม่ใช่เทวทูต ๔ ที่เจ้าชายสิทธัตถะทอดพระเนตรเห็น ?
ก.
คนเกิด
ข.
คนแก่
ค.
คนเจ็บ
ง.
คนตาย
๙.
เจ้าชายสิทธัตถะทรงอธิษฐานเพศเป็นบรรพชิตที่ใด ?
ก.
ริ่มฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา
ข.
ริ่มฝั่งแม่น้ำคงคา
ค.
ริ่มฝั่งแม่น้ำยมุนา
ง.
ริ่มฝั่งแม่น้ำอโนมา
๑๐.
ใครเป็นผู้ถวายเครื่องบริขารแด่เจ้าชายสิทธัตถะ ?
ก.
สหัมบดีพรหม
ข.
พระอินทร์
ค.
ฆฏิการพรหม
ง.
นายฉันนะ
๑๑.
พระมหาบุรุษทรงเลิกบำเพ็ญทุกรกิริยา เพราะเหตุใด ?
ก.
ทรงท้อพระทัย
ข.
ทรงเบื่อหน่าย
ค.
ทรงคลายความเพียร
ง.
ทรงเห็นว่าไม่ใช่ทางตรัสรู้
๑๒.
การที่ทรงบำเพ็ญทุกรกิริยา จัดเข้าในข้อใด ?
ก.
กามสุขัลลิกานุโยค
ข.
อัตตกิลมถานุโยค
ค.
มัชฌิมาปฏิปทา
ง.
เนกขัมมปฏิปทา
๑๓.
ขณะประทับนั่งเสวยวิมุตติสุขที่รัตนฆรเจดีย์ พระพุทธองค์ทรงพิจารณา
อะไร ?
ก.
พระสูตร
ข.
พระอภิธรรม
ค.
พระวินัย
ง.
ปฏิจจสมุปบาท
๑๔.
พระพุทธเจ้าตรัสรู้ ในวันอะไร ?
ก.
วันเพ็ญเดือน ๓
ข.
วันเพ็ญเดือน ๖
ค.
วันเพ็ญเดือน ๘
ง.
วันเพ็ญเดือน ๑๒
๑๕.
รุ่งเช้าของวันตรัสรู้ ใครถวายพระกระยาหารแด่พระพุทธเจ้า ?
ก.
นางวิสาขา
ข.
อนาถบิณฑิกเศรษฐี
ค.
นางสุชาดา
ง.
ปัญจวัคคีย์
๑๖.
บุคคลที่เข้าถึงรัตนะ ๒ เป็นคู่แรก คือใคร ?
ก.
นางวิสาขา -
อนาถบิณฑิกเศรษฐี
ข.
พระเจ้าพิมพิสาร -
พระเจ้าปเสนทิโกศล
ค.
ตปุสสะ - ภัลลิกะ
ง.
มารดาและบิดาของพระยสะ
๑๗.
บุคคลประเภท
“ ปทปรมะ ”
คือบุคคลประเภทใด ?
ก.
มีปัญญาเฉียบแหลม
ข.
มีปัญญาระดับปานกลาง
ค.
มีปัญญาพอแนะนำได้
ง.
ด้อยปัญญา
๑๘.
เมื่อพระพุทธองค์ตัดสินพระทัยที่จะแสดงธรรมแล้ว ทรงคิดถึงใครเป็น
คนแรก ?
ก.
กาฬเทวิลดาบส
ข.
กบิลดาบส
ค.
ปัญจวัคคีย์
ง.
อาฬารดาบสและอุทกดาบส
๑๙.
หลังจากตรัสรู้แล้ว พระพุทธเจ้าเสวยวิมุตติสุขกี่วัน ?
ก.
๒๙ วัน
ข.
๓๙ วัน
ค.
๔๙ วัน
ง.
๕๙ วัน
๒๐.
หลังจากตรัสรู้แล้ว พระพุทธเจ้าทรงจำพรรษาแรกที่ใด ?
ก.
ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน
ข.
วัดเวฬุวัน
ค.
วัดเชตวัน
ง.
ตำบลอุรุเวลาเสนานิคม
๒๑.
พระโกณฑัญญะ ได้ดวงตาเห็นธรรมด้วยพระธรรมเทศนาใด ?
ก.
อริยสัจ ๔
ข.
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร
ค.
อาทิตตปริยายสูตร
ง.
อนัตตลักขณสูตร
๒๒.
ในชฎิล ๓ พี่น้อง คนที่ ๒ มีชื่อว่าอะไร ?
ก.
อุรุเวลกัสสปะ
ข.
คยากัสสปะ
ค.
นทีกัสสปะ
ง.
กุมารกัสสปะ
๒๓.
พระพุทธเจ้าทรงได้ยินเสียงอุทานของยสกุลบุตรในเวลาใด ?
ก.
เที่ยงคืน
ข.
จวนใกล้รุ่ง
ค.
ขณะบิณฑบาต
ง.
กำลังเสวยพระกระยาหาร
๒๔.
ผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นอุบาสิกาคนแรกในพระพุทธศาสนา คือใคร ?
ก.
นางวิสาขา
ข.
พระนางมัลลิกา
ค.
มารดาของพระยสะ
ง.
พระนางพิมพา
๒๕.
ขณะประทับอยู่ที่ต้นพหุปุตตนิโครธ พระพุทธองค์ทรงประทาน
โอวาท ๓ ข้อแก่ใคร ?
ก.
ปิปผลิมาณพ
ข.
อุปติสสมาณพ
ค.
โกลิตมาณพ
ง.
อชิตมาณพ
๒๖.
พระพุทธองค์ทรงส่งพระสาวกไปประกาศศาสนาครั้งแรกกี่องค์ ?
ก.
๕๐ องค์
ข.
๖๐ องค์
ค.
๗๐ องค์
ง.
๑,๒๕๐ องค์
๒๗.
วัดแห่งแรกในพระพุทธศาสนา ชื่อว่าอะไร ?
ก.
เวฬุวัน
ข.
เชตวัน
ค.
ลัฏฐิวัน
ง.
อัมพวัน
๒๘.
ใครเป็นผู้ถวายวัดแห่งแรก ในพระพุทธศาสนา ?
ก.
พระเจ้าพิมพิสาร
ข.
พระเจ้าเชตุ
ค.
อนาถบิณฑิกเศรษฐี
ง.
นางวิสาขา
๒๙.
อุบายสำหรับแก้ความง่วง พระพุทธองค์ทรงแสดงแก่ใคร ?
ก.
พระสารีบุตร
ข.
พระอานนท์
ค.
พระมหากัสสปะ
ง.
พระโมคคัลลานะ
๓๐.
พระสารีบุตรสำเร็จเป็นพระอรหันต์ หลังจากอุปสมบทแล้วกี่วัน ?
ก.
๗ วัน
ข.
๑๒ วัน
ค.
๑๕ วัน
ง.
๒๐ วัน
๓๑.
พระสารีบุตรสำเร็จเป็นพระอรหันต์ด้วยพระธรรมเทศนาใด ?
ก.
อริยสัจ ๔
ข.
อนุปุพพีกถา
ค.
อริยธรรม
ง.
เวทนาปริคคหสูตร
๓๒.
ภรรยาของปิปผลิมาณพมีนามว่าอย่างไร ?
ก.
ยโสธรา
ข.
ปชาบดี
ค.
กีสาโคตมี
ง.
ภัททกาปิลานี
๓๓.
ใครเป็นผู้ถวายปิณฑบาตครั้งสุดท้าย แด่พระพุทธเจ้า ?
ก.
วิสาขามหาอุบาสิกา
ข.
อนาถบิณฑิกเศรษฐี
ค.
นางสุชาดา
ง.
นายจุนทะ
๓๔.
พระพุทธเจ้าทรงปลงอายุสังขารที่หมู่บ้านอะไร ?
ก.
เวฬุวคาม
ข.
กัลลวาลมุตตคาม
ค.
ภัณฑุคาม
ง.
นาลันทา
๓๕.
ในคราวเสด็จปรินิพพาน พระพุทธเจ้าทรงมีพระชนมายุเท่าไร ?
ก.
๖๐ ปี
ข.
๗๐ ปี
ค.
๘๐ ปี
ง.
๙๐ ปี
๓๖.
ปัจฉิมโอวาท พระพุทธเจ้าทรงแสดงเกี่ยวกับอะไร ?
ก.
ความไม่ประมาท
ข.
ความเพียร
ค.
ความทุกข์
ง.
ความสามัคคี
๓๗.
ใครเป็นพระสาวกองค์สุดท้าย ?
ก.
อุปกาชีวก
ข.
โกลิตปริพาชก
ค.
สุภัททวุฑฒบรรพชิต
ง.
สุภัททปริพาชก
๓๘.
สถานที่ถวายพระเพลิงพระบรมศพ คือที่ใด ?
ก.
บริโภคเจดีย์
ข.
มกุฏพันธนเจดีย์
ค.
ธรรมเจดีย์
ง.
อุทเทสิกเจดีย์
๓๙.
ใครเป็นผู้แบ่งพระบรมสารีริกธาตุ ?
ก.
พระอานนท์
ข.
พระมหากัสสปะ
ค.
โทณพราหมณ์
ง.
วัสสการพราหมณ์
๔๐.
ก่อนเสด็จปรินิพพาน พระพุทธเจ้าทรงตั้งใครเป็นศาสดา ?
ก.
พระอานนท์
ข.
พระมหากัสสปะ
ค.
พระไตรปิฎก
ง.
พระธรรมวินัย
ศาสนพิธี
๔๑.
แบบแผนที่พึงปฏิบัติในทางศาสนา เรียกว่าอะไร ?
ก.
ศาสนพิธี
ข.
กุศลพิธี
ค.
ทานพิธี
ง.
บุญพิธี
๔๒.
บุญกิริยาวัตถุ ๓ คือข้อใด ?
ก.
ศีล สมาธิ ปัญญา
ข.
ทาน ศีล ภาวนา
ค.
ทาน ศีล สมาธิ
ง.
ทาน ศีล ปัญญา
๔๓.
ผู้รับนับถือพระพุทธเจ้าเป็นของตน เป็นความหมายของข้อใด ?
ก.
อุบาสิกา
ข.
อุบาสก
ค.
พุทธมามกะ
ง.
สาวก
๔๔.
การกราบด้วยเบญจางคประดิษฐ์ หมายถึงการกราบเช่นไร ?
ก.
กราบครบองค์ ๕
ข.
กราบ ๓ ครั้ง
ค.
กราบ ๕ ครั้ง
ง.
ข้อ ข. ข้อ ค. ถูก
๔๕.
ข้อใด ตรงกับวันถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ ?
ก.
วันวิสาขบูชา
ข.
วันอัฏฐมีบูชา
ค.
วันอาสาฬหบูชา
ง.
วันมาฆบูชา
๔๖.
คำว่า
“ มยํ ภนฺเต วิสุ วิสุ รกฺขณตฺถาย...”
เป็นคำอะไร ?
ก.
คำอาราธนาพระปริตร
ข.
คำอาราธนาธรรม
ค.
คำอาราธนาศีล
ง.
คำอาราธนาพระสงฆ์
๔๗.
ข้อใด จัดเป็นงานอวมงคล ?
ก.
นายพานพบทำบุญอุทิศให้
นางแสนเสน่ห์
ข.
นางชวนชมทำบุญอายุครบ ๖๐ ปี
ค.
กำนันช้างทำบุญขึ้นบ้านใหม่
ง.
ผู้ใหญ่ลีทำบุญครบรอบวันแต่งงาน
๔๘.
ข้อใด เป็นคำกรวดน้ำแบบย่อ ?
ก.
สพฺเพ สตฺตา อเวรา โหนฺตุ
ข.
อิทํ เม าตีนํ โหตุ สุขิตา โหนฺตุ
าตโย
ค.
ยถา วาริวหา ปูรา ปริปูเรนฺติ
สาครํ ฯ
ง.
อิมินา ปุญฺกมฺเมน อุปชฺฌายา
คุณุตฺตรา ฯ
๔๙.
การทอดกฐินกำหนดให้ทำในช่วงเวลาใด ?
ก.
ก่อนเข้าพรรษา ๑ เดือน
ข.
หลังเข้าพรรษา ๑ เดือน
ค.
ก่อนออกพรรษา ๑ เดือน
ง.
หลังออกพรรษา ๑ เดือน
๕๐.
ข้อใด เป็นวิธีประเคนของพระที่ถูกต้อง ?
ก.
พระสิงห์รับถาดอาหารจากมือ
โยมแม่
ข.
เด็กหญิงอ้อยกับเพื่อนช่วยกันยก โต๊ะอาหารถวายพระ
ค.
เด็กชายนิดถวายอาหารใน
เวลาบ่าย
ง.
นางสาวจินวางปิ่นโตอาหารลงบน ผ้ากราบของพระกริสนัย
เอกสารอ้างอิง
เรื่องสอบธรรม ของสนามหลวงแผนกธรรม พ.ศ.๒๕๔๖. หน้า ๑๒๗-๑๓๗.
ข้อสอบสนามหลวง
พ.ศ. ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๑
พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๖๕
พ.ศ. ๒๕๖๖
พ.ศ. ๒๕๖๗
พ.ศ. ๒๕๖๘
พ.ศ. ๒๕๖๙
พ.ศ. ๒๕๗๐
พ.ศ. ๒๕๗๑
พ.ศ. ๒๕๗๒
พ.ศ. ๒๕๗๓
พ.ศ. ๒๕๗๔
พ.ศ. ๒๕๗๕
พ.ศ. ๒๕๗๖
พ.ศ. ๒๕๗๗
พ.ศ. ๒๕๗๘
พ.ศ. ๒๕๗๙
พ.ศ. ๒๕๘๐
พ.ศ. ๒๕๘๑
พ.ศ. ๒๕๘๒
พ.ศ. ๒๕๘๓
พ.ศ. ๒๕๘๔
พ.ศ. ๒๕๘๕
พ.ศ. ๒๕๘๖
พ.ศ. ๒๕๘๗
พ.ศ. ๒๕๘๘
พ.ศ. ๒๕๘๙
พ.ศ. ๒๕๙๐
พ.ศ. ๒๕๙๑
พ.ศ. ๒๕๙๒
พ.ศ. ๒๕๙๓
พ.ศ. ๒๕๙๔
พ.ศ. ๒๕๙๕
พ.ศ. ๒๕๙๖
พ.ศ. ๒๕๙๗
พ.ศ. ๒๕๙๘
พ.ศ. ๒๕๙๙
พ.ศ. ๒๖๐๐