รวมข้อสอบวิชาบาลีไวยากรณ์
ประโยค ป.ธ. ๓
ปัญหาและเฉลย บาลีไวยากรณ์
สอบ วันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๖
เวลา ๑๔.๑๕ - ๑๗.๑๕ น.

๑.
อะไรเรียกว่า อักขระ พยัญชนะ และนิคคหิตในคำทั้ง ๓ นั้น คำไหน
แปลว่าอย่างไร

๒.
การลงอาคมในพยัญชนะสนธิและนิคคหิตสนธิ มีลักษณะต่างกันอย่างไร
จงอธิบายพร้อมทั้งยกตัวอย่างมาประกอบยตฺรฏฺฐิโต, อหนฺทานิ เป็นสนธิ
อะไร
ตัดและต่ออย่างไร

๓.
จงตอบคำถามต่อไปนี้

ก. จกฺขุ เป็นอะไรนามศัพท์และลิงค์อะไร

ข. อุปาสิกา เมื่อแจกในอาลปนะวิภัตติ มีรูปอย่างไรบ้าง

ค. อายสฺมโต เป็นวิภัตติอะไรบ้าง

ฆ. สฏฺฐี, ปณฺณรสี เป็นสังขยาชนิดไหน

ง. ตทา, กุหึ แปลว่าอย่างไร สำเร็จมาจากอะไร

๔.
ในอาขยาตจัดวาจกไว้เท่าไรอะไรบ้างวาจกไหนลงปัจจัยอะไร
จงแก้คำที่เห็นว่าผิดให้ถูกต้องตามหลังไวยากรณ์ในประโยคต่อไปนี้

ก. โสโก วา ภยํ วา เปมโต ชายติ

ข. สา กุมาริกา โสตาปตฺติผเล ปติฏฺฐหึสุ

๕. ปัจจัย ในกิริยากิตก์ ในที่เช่นไร ใช้บอกกัตตุวาจก ฯ ในที่เช่นไร ใช้บอก
กัมมวาจก
จงตอบพร้อมทั้งยกตัวอย่างมาประกอบสุขานุภวนํ (ฐานํ), สุภานุปสฺสี ลงปัจจัยอะไรเป็นรูปและสาธนะอะไรจงตั้งวิเคราะห์มาดู

๖. กัมมธายสมาส กับ ตัปปุริสสมาส ต่างกันอย่างไรจงตอบพร้อมทั้งยก
ตัวอย่างมาประกอบด้วย
อญฺญาณาภิภูโต (ปุริโส), สวิญฺญาณกํ (ธนํ)
เป็นสมาสอะไรบ้าง ฯ จงตั้งวิเคราะห์มาตามลำดับ ฯ

๗. วิภาคตัทธิต มีปัจจัยเท่าไรอะไรบ้างปัจจัยเหล่านี้นิยมใช้ประกอบกับ
ศัพท์ชนิดไหน
อุฏฺฐานาวา, โสสานิกา (ภิกฺขู) ลงปัจจัยอะไร ฯ
ในตัทธิตไหน ฯ จงตั้งวิเคราะห์มาดู ฯ


ให้เวลา  ๓  ชั่วโมง
เอกสารอ้างอิง
  เรื่อง สอบบาลี ของบาลีสนามหลวง พ.ศ. ๒๕๔๖. หน้า
  สนามหลวงแผนกบาลี. (๒๕๔๙). ปัญหา-เฉลยประโยคบาลีสนามหลวง
     ประโยค ๑-๒, ประโยค ป.ธ.๓. พ.ศ.๒๕๒๙-๒๕๔๙. หจก.สตาร์กรุ้ฟ.
     หน้า ๕๑๖-๑๕๙.
  สำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวง และคณะ. (๒๕๕๕) ปัญหาและเฉลย
     ประโยคบาลีสนามหลวง ชั้นประโยค ป.ธ.๓ พ.ศ.๒๕๐๐-๒๕๕๕.
     หน้า ๓๕๗-๓๖๐.

 

พ.ศ. ๒๕๐๐
พ.ศ. ๒๕๐๑
พ.ศ. ๒๕๐๒
พ.ศ. ๒๕๐๓
พ.ศ. ๒๕๐๔
พ.ศ. ๒๕๐๕
พ.ศ. ๒๕๐๖
พ.ศ. ๒๕๐๗
พ.ศ. ๒๕๐๘
พ.ศ. ๒๕๐๙
พ.ศ. ๒๕๑๐
พ.ศ. ๒๕๑๑
พ.ศ. ๒๕๑๒
พ.ศ. ๒๕๑๓
พ.ศ. ๒๕๑๔
พ.ศ. ๒๕๑๕
พ.ศ. ๒๕๑๖
พ.ศ. ๒๕๑๗
พ.ศ. ๒๕๑๘
พ.ศ. ๒๕๑๙
พ.ศ. ๒๕๒๐
พ.ศ. ๒๕๒๑
พ.ศ. ๒๕๒๒
พ.ศ. ๒๕๒๓
พ.ศ. ๒๕๒๔
พ.ศ. ๒๕๒๕
พ.ศ. ๒๕๒๖
พ.ศ. ๒๕๒๗
พ.ศ. ๒๕๒๘
พ.ศ. ๒๕๒๙
พ.ศ. ๒๕๓๐
พ.ศ. ๒๕๓๑
พ.ศ. ๒๕๓๒
พ.ศ. ๒๕๓๓
พ.ศ. ๒๕๓๔
พ.ศ. ๒๕๓๕
พ.ศ. ๒๕๓๖
พ.ศ. ๒๕๓๗
พ.ศ. ๒๕๓๘
พ.ศ. ๒๕๓๙
พ.ศ. ๒๕๔๐
พ.ศ. ๒๕๔๑
พ.ศ. ๒๕๔๒
พ.ศ. ๒๕๔๓
พ.ศ. ๒๕๔๔
พ.ศ. ๒๕๔๕
พ.ศ. ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๘_๒
พ.ศ. ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๔๙_๒
พ.ศ. ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๐_๒
พ.ศ. ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๑_๒
พ.ศ. ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๒_๒
พ.ศ. ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๓_๒
พ.ศ. ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๔_๒
พ.ศ. ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๕_๒
พ.ศ. ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๖_๒
พ.ศ. ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๗_๒
พ.ศ. ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๘_๒
พ.ศ. ๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๕๙_๒
พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๐_๒
พ.ศ. ๒๕๖๑
พ.ศ. ๒๕๖๑_๒
พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๒_๒
พ.ศ. ๒๕๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๓_๒
พ.ศ. ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๖๔_๒
พ.ศ. ๒๕๖๕
พ.ศ. ๒๕๖๕_๒
พ.ศ. ๒๕๖๖
พ.ศ. ๒๕๖๖_๒
พ.ศ. ๒๕๖๗
พ.ศ. ๒๕๖๗_๒
พ.ศ. ๒๕๖๘
พ.ศ. ๒๕๖๘_๒
พ.ศ. ๒๕๖๙
พ.ศ. ๒๕๖๙_๒
พ.ศ. ๒๕๗๐
พ.ศ. ๒๕๗๐_๒
พ.ศ. ๒๕๗๑
พ.ศ. ๒๕๗๑_๒
พ.ศ. ๒๕๗๒
พ.ศ. ๒๕๗๒_๒
พ.ศ. ๒๕๗๓
พ.ศ. ๒๕๗๓_๒
พ.ศ. ๒๕๗๔
พ.ศ. ๒๕๗๔_๒
พ.ศ. ๒๕๗๕
พ.ศ. ๒๕๗๕_๒
พ.ศ. ๒๕๗๖
พ.ศ. ๒๕๗๖_๒
พ.ศ. ๒๕๗๗
พ.ศ. ๒๕๗๗_๒
พ.ศ. ๒๕๗๘
พ.ศ. ๒๕๗๘_๒
พ.ศ. ๒๕๗๙
พ.ศ. ๒๕๗๙_๒
พ.ศ. ๒๕๘๐
พ.ศ. ๒๕๘๐_๒
พ.ศ. ๒๕๘๑
พ.ศ. ๒๕๘๑_๒
พ.ศ. ๒๕๘๒
พ.ศ. ๒๕๘๒_๒
พ.ศ. ๒๕๘๓
พ.ศ. ๒๕๘๓_๒
พ.ศ. ๒๕๘๔
พ.ศ. ๒๕๘๔_๒
พ.ศ. ๒๕๘๕
พ.ศ. ๒๕๘๕_๒
พ.ศ. ๒๕๘๖
พ.ศ. ๒๕๘๖_๒
พ.ศ. ๒๕๘๗
พ.ศ. ๒๕๘๗_๒
พ.ศ. ๒๕๘๘
พ.ศ. ๒๕๘๘_๒
พ.ศ. ๒๕๘๙
พ.ศ. ๒๕๘๙_๒
พ.ศ. ๒๕๙๐
พ.ศ. ๒๕๙๐_๒
พ.ศ. ๒๕๙๑
พ.ศ. ๒๕๙๑_๒
พ.ศ. ๒๕๙๒
พ.ศ. ๒๕๙๒_๒
พ.ศ. ๒๕๙๓
พ.ศ. ๒๕๙๓_๒
พ.ศ. ๒๕๙๔
พ.ศ. ๒๕๙๔_๒
พ.ศ. ๒๕๙๕
พ.ศ. ๒๕๙๕_๒
พ.ศ. ๒๕๙๖
พ.ศ. ๒๕๙๖_๒
พ.ศ. ๒๕๙๗
พ.ศ. ๒๕๙๗_๒
พ.ศ. ๒๕๙๘
พ.ศ. ๒๕๙๘_๒
พ.ศ. ๒๕๙๙
พ.ศ. ๒๕๙๙_๒
พ.ศ. ๒๖๐๐
พ.ศ. ๒๖๐๐_๒
 
ข้อสอบสนามหลวง