ปณามคาถา

  มหาโมหตโมนทฺเธ
เยน สทฺธมฺมปชฺโชโต
ตสฺส ปาเท นมสฺสิตฺวา
สทฺธมฺมญฺสฺส ปูเชตฺวา
ตํ ตํ การณมาคมฺม
สมฺปนฺนสทฺธมฺมปโท
เทเสสิ กรุณาเวค-
ยํ เว เทวมนุสฺสานํ 
ปรมฺปราภตา ตสฺส
ยา ตามฺพปณฺณิทีปมฺหิ
น สาธยติ เสสานํ
อปฺเปว นาม สาเธยฺย
อิติ อาสึสมาเนน
กุมารกสฺสเปนาหํ 
สทฺธมฺมฏฺิติกาเมน
ตํ ภาสํ อติวิตฺถารํ 
ปหายาโรปยิตฺวาน
คาถานํ พฺยญฺชนปทํ   
เกวลนฺตํ วิภาเวตฺวา 
ภาสนฺตเรน ภาสิสฺสํ 
มนโส ปีติปาโมชฺชํ
โลเก โลกนฺตทสฺสินา
ชลิโต ชลิติทฺธินา
สมฺพุทฺธสฺส สิรีมโต
กตฺวา สงฺฆสฺส ญฺชลึ
ธมฺมาธมฺเมสุ โกวิโท
สตฺถา ธมฺมปทํ สุภํ
สมุสฺสาหิตมานโส
ปีติปาโมชฺชวฑฺฒนํ
นิปุณา อตฺถวณฺณนา
ทีปภาสาย สณฺิตา
สตฺตานํ หิตสมฺปทํ
สพฺพโลกสฺส สา หิตํ
ทนฺเตน สมจารินา
เถเรน ถิรเจตสา
สกฺกจฺจํ อภิยาจิโต
คตญฺ
วจนกฺกมํ
ตนฺตึ ภาสํ มโนรมํ
ยํ ตตฺถ น วิภาวิตํ
เสสนฺตเมว อตฺถโต
อาวหนฺโต วิภาวินํ
อตฺถธมฺมูปนิสฺสิตนฺติ.
อ.คาถาอันแสดงซึ่งความนอบน้อม

      ว่า อ.ข้าพเจ้า (ชื่อว่าพุทธโฆสาจารย์) อันพระเถระชื่อว่า กุมารกัสสป ผู้ฝึกแล้ว
ผู้มีปกติประพฤติสม่ำเสมอ  ผู้มีจิตมั่นคง  ผู้ใคร่เพื่ออันตั้งอยู่แห่งพระสัทธรรม  หวัง
อยู่ว่า   อ.พระศาสดา ผู้ทรงฉลาดในธรรมและสภาพมิใช่ธรรม ท.    ผู้มีบทแห่งพระ
สัทธรรมอันถึงพร้อมแล้ว ผู้มีฉันทะอันมีในใจ   อันกำลังแห่งพระกรุณาให้อาจหาญ
ขึ้นพร้อมแล้ว ทรงอาศัยแล้วซึ่งเหตุนั้นๆ ทรงแสดงแล้ว ซึ่งพระธรรมบทอันงามใด
แล  อันยังปีติและปราโมทย์ให้เจริญแก่เทวดาและมนุษย์ ท.       อ. กถาเป็นเครื่อง
พรรณนาซึ่งเนื้อความ
แห่งพระธรรมบทนั้นใด   อันอาจารย์นำสืบ ๆ กันมาแล้ว   อัน
ละเอียด   ตั้งอยู่พร้อมแล้ว โดยภาษาแห่งชาวเกาะ ในเกาะอันเป็นที่อยู่แห่งบุคคล
ผู้มีฝ่ามือแดง  ยังความถึงพร้อมแห่งประโยชน์เกื้อกูล   ย่อมไม่ให้สำเร็จแก่สัตว์ ท.
อันเหลือ แม้ไฉน    อ.กถาเป็นเครื่องพรรณนาซึ่งเนื้อความนั้น ยังประโยชน์เกื้อกูล
พึงให้สำเร็จ แก่โลกทั้งปวง ดังนี้ วิงวอนแล้ว โดยเคารพ นมัสการแล้วซึ่งพระบาท
ท.   อ.ประทีปอันโพลงทั่วแล้วคือพระสัทธรรม อันพระสัมพุทธเจ้าพระองค์ใด   ผู้มี
อัน-   ครั้นเมื่อโลก  อันมืดคือโมหะใหญ่หุ้มห่อแล้ว  ทรงเห็นซึ่งที่สุดแห่งโลกปกติ
ผู้มีพระฤทธิ์อันรุ่งเรืองแล้ว ให้รุ่งเรืองแล้ว แห่งพระสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น ผู้มีพระ
สิริ   บูชาแล้ว   ซึ่งพระสัทธรรม   แห่งพระสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้นด้วย  กระทำแล้ว
ซึ่งอัญชลี  แก่พระสงฆ์ด้วย  ละแล้วซึ่งภาษานั้นด้วย    ซึ่งลำดับแห่งคำอันถึงแล้ว
ซึ่งความพิสดารเกินด้วย  ยกขึ้นแล้ว สู่ภาษาอันเป็นแบบแผน อันเป็นที่รื่นรมย์แห่ง
ใจ    อ.พยัญชนะและบทใด แห่งคาถา ท. อันบัณฑิตมิได้ให้เป็นแจ้งแล้ว   ในพระ
ธรรมบทนั้น  ยังพยัญชนะและบทนั้น  ให้เป็นแจ้งแล้ว สิ้นเชิง   จักกล่าว     ซึ่งพระ
ธรรมบทนั้นนั่นเทียว มิให้เหลือ ด้วยภาษาอื่น โดยเนื้อความ นำมาอยู่   ซึ่งปีติและ
ปราโมทย์ แห่งใจ  อันเข้าไปอาศัยแล้วซึ่งอรรถและธรรม  แก่บัณฑิต ท. ผู้ยังอรรถ
ให้เป็นแจ้ง ดังนี้