รวมข้อสอบวิชาบุรพภาค
ประโยค ป.ธ. ๓
ปัญหาและเฉลย บุรพภาค
สอบ วันที่ ๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๒๙
เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๔.๑๕ น.

 จงแก้ตัวอักษร  ย่อหน้า  และจัดวรรคตอน  ให้ถูกต้องตามสมัยนิยม

เมื่อปี พ.ส. ๒๔๘๑ มหาเถรสมาคมในยุกนั้นได้ประกาสให้ภิกสุสามเนร เรียน พระทรรมวินัย มีหลักถานปรากดอยู่ในหนังสือแถลงการณ์คนะสงค์ เล่ม ๒๖ ความ ว่า "มหาเถรสมาคมประชุมหาลือว่าการสึกสาพระทรรมวินัยเวลานี้เจริญ แพร่หลาย มากขึ้น แต่ภิกสุสามเนรที่ยังมิได้สึกสาก็มีอยู่เป็นจำนวนมาก เพราะ ไม่มีระเบียบ กวดขัน ปล่อยให้เป็นไปตามใจสมรรค เห็นว่าควนจะวางระเบียบ กวดขันให้สึกสา ทั่วถึงกัน จึงให้ประกาสว่า ภิกสุมีพรรสายับไม่ถึง๕และสามเนร รูปใดฝ่าฝืนไม่ ปฏิบัติ มีความผิดถานฝ่าฝืนโอวาทของเจ้าอาวาด และถ้าเจ้าอา วาดรูปใดไม่กวด ขันภิกสุสามเนรในอาวาดของตน มีความผิดถานละเลยต่อหน้า ที่"ตามประกาส ฉบับดังกล่าวข้างต้นจึงพึงเห็นได้อย่างแจ้งชัดว่า ท่านผู้มีหน้าที่ รับผิดชอบในการ ปกคลองคนะสงค์ระดับสูงสุด เห็นเป็นความจำเป็นอย่างยิ่งใน กรนีที่จะต้องไห้ ภิกสุสามเนรเล่าเรียนพระทรรมวินัย เพราะเป็นหน้าที่โดยตรง ของภิกสุสามเนร และเพราะการสึกสาเล่าเรียนพระทรรมวินัยของภิกสุสามเนร เป็นพลวปัจจัยที่จะก่อ ให้เกิดความเจรินรุ่งเรืองและความมั่นคงแห่งพุทธจักรซึ่ง ประกอบด้วยพระศาสนา สังคมนทล และวัดวาอารามเป็นตัวสืบต่ออายุพุทธจักร ให้ยั่งยืนต่อไปอันพุทธ สาวกกล่าวโดยเฉพาะภิกสุสามเนรนั้น ต้องนับว่าเป็นสาสนทายาดที่มีความสำคัน ต่อพระสาสนาฝ่ายหนึ่ง ความสำนึกในคุณค่าของ ความเป็น สาสนทายาดก็ดี ความสำนึกในเกียรติพูมิของสาสนทายาดก็ดี ยังคงมีอยู่ในตัวท่านไม่สูญหายไป ไหน แต่ต้องอับเฉาลงไปบ้าง ในเรื่องการเร่าเรียน สึกสาพระทรรมวินัยหรือในการ เข้ารับการอบรมพระทรรมวินัยจะเหมากล่าว เอาว่า เพราะท่านขาดความสำนึกดัง กล่าวแล้วเห็นจะยังไม่ได้เพราะข้อขัดข้อง ในการที่จะสึกสาเล่าเลียนหรือข้อขัด ข้องในการที่จะเข้ารับการอบรมมิใช่จะ มีเพียงประกานเดียวมีอยู่หลายอย่างหลาย ประกานด้วยกันซึ่งจะไม่นำมากล่าว ในที่นี้ เพราะเชื่อว่ารู้ๆกันอยู่ในหมู่เจ้าอาวาด และเจ้าคนะ ข้อขัดข้องต่างๆ ดังกล่าวนั้นเป็นสิ่งที่พอจะแก้ไขได้ มิใช่เหลือวิสัย ที่จะแก้ไข แต่ต้องร่วมมือ ช่วยกันแก้ในระหว่างเจ้าอาวาดและเจ้าคนะตลอดลงไป ถึงภิกสุสามเนร
ให้เวลา  ๑  ชั่วนาฬิกา กับ  ๑๕  นาที
เอกสารอ้างอิง
  สนามหลวงแผนกบาลี  ปัญหา-เฉลยประโยคบาลีสนามหลวง
ประโยค ๑-๒, ประโยค ป.ธ. ๓  พ.ศ. ๒๕๒๙-๒๕๔๙.  หน้า ๓๙๐.

 

ข้อสอบสนามหลวง
พ.ศ. ๒๕๒๙
พ.ศ. ๒๕๓๐
พ.ศ. ๒๕๓๑
พ.ศ. ๒๕๓๒
พ.ศ. ๒๕๓๓
พ.ศ. ๒๕๓๔
พ.ศ. ๒๕๓๕
พ.ศ. ๒๕๓๖
พ.ศ. ๒๕๓๗
พ.ศ. ๒๕๓๘
พ.ศ. ๒๕๓๙
พ.ศ. ๒๕๔๐
พ.ศ. ๒๕๔๑
พ.ศ. ๒๕๔๒
พ.ศ. ๒๕๔๓
พ.ศ. ๒๕๔๔
พ.ศ. ๒๕๔๕
พ.ศ. ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๑
พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๖๕
พ.ศ. ๒๕๖๖
พ.ศ. ๒๕๖๗
พ.ศ. ๒๕๖๘
พ.ศ. ๒๕๖๙
พ.ศ. ๒๕๗๐
พ.ศ. ๒๕๗๑
พ.ศ. ๒๕๗๒
พ.ศ. ๒๕๗๓
พ.ศ. ๒๕๗๔
พ.ศ. ๒๕๗๕
พ.ศ. ๒๕๗๖
พ.ศ. ๒๕๗๗
พ.ศ. ๒๕๗๘
พ.ศ. ๒๕๗๙
พ.ศ. ๒๕๘๐
พ.ศ. ๒๕๘๑
พ.ศ. ๒๕๘๒
พ.ศ. ๒๕๘๓
พ.ศ. ๒๕๘๔
พ.ศ. ๒๕๘๕
พ.ศ. ๒๕๘๖
พ.ศ. ๒๕๘๗
พ.ศ. ๒๕๘๘
พ.ศ. ๒๕๘๙
พ.ศ. ๒๕๙๐
พ.ศ. ๒๕๙๑
พ.ศ. ๒๕๙๒
พ.ศ. ๒๕๙๓
พ.ศ. ๒๕๙๔
พ.ศ. ๒๕๙๕
พ.ศ. ๒๕๙๖
พ.ศ. ๒๕๙๗
พ.ศ. ๒๕๙๘
พ.ศ. ๒๕๙๙
พ.ศ. ๒๖๐๐