ปัญหาและเฉลยวิชาวินัยบัญญัติ นักธรรมชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันอาทิตย์ ที่ ๒๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๕
เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐ น.
๑.
๑.๑
พระวินัย คืออะไร
?
๑.๒
สิกขา ๓ เมื่อศึกษาแล้วจะได้ประโยชน์อย่างไร
?
๒.
๒.๑
สิกขากับสิกขาบทต่างกันอย่างไร
?
๒.๒
สิกขาบทที่มาในพระปาฏิโมกข์มีเท่าไร
?
อะไรบ้าง
?
๓.
๓.๑ คำต่อไปนี้มีความหมายอย่างไร ?
ก)
อาทิกัมมิกะ
ข)
อเตกิจฉา
๓.๒
อาการที่ภิกษุจะต้องอาบัติมีเท่าไร
?
อะไรบ้าง
?
๔.
๔.๑
คำว่า "ไถยจิต" หมายถึงอะไร
?
๔.๒
ในอทินนาทานสิกขาบท กำหนดราคาทรัพย์เป็นวัตถุแห่งอาบัติ
ไว้อย่างไรบ้าง
?
๕.
๕.๑
สังหาริมทรัพย์
และอสังหาริมทรัพย์ ได้แก่ทรัพย์เช่นไร
?
๕.๒
การถือเอาทรัพย์ทั้ง ๒ อย่างนั้น กำหนดว่าถึงที่สุดไว้อย่างไร
?
๖.
๖.๑
ปาราชิก ๔ สิกขาบทไหนที่ภิกษุใช้ให้เขาทำก็ต้องอาบัติถึงที่สุด
?
๖.๒
สังฆาทิเสส ๑๓ สิกขาบทไหนบ้างต้องอาบัติตั้งแต่แรกทำ
?
มีชื่อเรียกอย่างไร
?
๗.
๗.๑
ภิกษุมีความกำหนัด จับต้องกะเทย บุรุษ และสัตว์ดิรัจฉานตัวผู้
เป็นอาบัติอะไร
?
๗.๒
อาบัติไม่มีมูล กำหนดโดยอาการอย่างไร
?
โจทด้วยอาบัติไม่มีมูลเป็นอาบัติอะไร
?
๘.
๘.๑
ผ้าจีวรที่ทรงอนุญาตให้ใช้ได้ทำด้วยวัตถุกี่ชนิด
?
อะไรบ้าง
?
๘.๒
จีวร ผ้านิสีทนะ อังสะ ผ้าเช็ดหน้า ย่ามผ้า เมื่อจะใช้สอย
อย่างไหนควรพินทุ อย่างไหนไม่ควร ? เพราะเหตุใด
?
๙.
๙.๑
ภิกษุพูดปดต้องอาบัตินั้นทราบแล้ว แต่ถ้าพูดเรื่องจริง จะต้องอาบัติอะไรหรือไม่
?
๙.๒
ปฏิสสวะทุกกฏ คืออะไร
?
๑๐.
๑๐.๑
การนุ่งเป็นปริมณฑล คือการนุ่งอย่างไร
?
๑๐.๒
เสขิยวัตรว่าด้วยการรับบิณฑบาตมีหลายข้อ จงระบุมาเพียง ๒ ข้อ
เอกสารอ้างอิง
เรื่องสอบธรรม ของสนามหลวงแผนกธรรม พ.ศ.๒๕๔๕. หน้า .
สำเนาข้อสอบจริง ปี ๒๕๔๕.
ข้อสอบสนามหลวง
พ.ศ. ๒๕๔๓
พ.ศ. ๒๕๔๔
พ.ศ. ๒๕๔๕
พ.ศ. ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๑
พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๖๕
พ.ศ. ๒๕๖๖
พ.ศ. ๒๕๖๗
พ.ศ. ๒๕๖๘
พ.ศ. ๒๕๖๙
พ.ศ. ๒๕๗๐
พ.ศ. ๒๕๗๑
พ.ศ. ๒๕๗๒
พ.ศ. ๒๕๗๓
พ.ศ. ๒๕๗๔
พ.ศ. ๒๕๗๕
พ.ศ. ๒๕๗๖
พ.ศ. ๒๕๗๗
พ.ศ. ๒๕๗๘
พ.ศ. ๒๕๗๙
พ.ศ. ๒๕๘๐
พ.ศ. ๒๕๘๑
พ.ศ. ๒๕๘๒
พ.ศ. ๒๕๘๓
พ.ศ. ๒๕๘๔
พ.ศ. ๒๕๘๕
พ.ศ. ๒๕๘๖
พ.ศ. ๒๕๘๗
พ.ศ. ๒๕๘๘
พ.ศ. ๒๕๘๙
พ.ศ. ๒๕๙๐
พ.ศ. ๒๕๙๑
พ.ศ. ๒๕๙๒
พ.ศ. ๒๕๙๓
พ.ศ. ๒๕๙๔
พ.ศ. ๒๕๙๕
พ.ศ. ๒๕๙๖
พ.ศ. ๒๕๙๗
พ.ศ. ๒๕๙๘
พ.ศ. ๒๕๙๙
พ.ศ. ๒๖๐๐