แผนการเรียนการสอนชั้นจูฬอาภิธรรมิกโท
ศูนย์การศึกษาพระอภิธรรมวัดพระเชตุพน
ปริจเฉทที่ ๓ ปกิณณกสังคหะ
เวทนาสังคหะ
เหตุสังคหะ
- คาถาแสดงเวทนา ๓ และ ๕
- คาถาแสดงเหตุ ๖ หรือ ๙
- คาถาแสดงการจำแนกจิต ๑๒๑ โดยเวทนา ๕
- ธรรมที่เป็นเหตุ
- อารัมมณานุภวนลักขณนัย (เวทนา ๓)
- คาถาแสดงการจำแนกจิตโดยเหตุ
- อินทริยเภทนัย (เวทนา ๕)
- การจำแนกสเหตุกจิตโดยเหตุ
- การจำแนกจิต ๑๒๑ โดยเวทนา ๓
- การจำแนกเจตสิกโดยเหตุ ที่ว่าโดยอคหิตัคคหนนัย
- การจำแนกเจตสิก ๕๒ โดยเวทนา ๕
- การจำแนกเจตสิกโดยเหตุ ที่ว่าโดยคหิตัคคหนนัย
- การนับจำนวนเหตุโดยพิสดาร ๒๘๓
กิจจสังคหะ
ทวารสังคหะ
- คาถาแสดงกิจ ๑๔ และฐาน ๑๐
- ทวาร ๖
- กิจ ๑๔
- การจำแนกจิตโดยทวาร ๖
- ฐาน ๑๐
- การจำแนกทวาริกจิต โดยแน่นอนและไม่แน่นอน
- การจำแนกกิจ ๑๔ โดยจิต
- คาถาแสงดการจำแนกจิต ๕ ประเภท
- การจำแนกจิตโดยกิจ ๑๔
- แสดงเอกทวาริกจิต ปัญจทวาริกจิต ฉทวาริกจิต
ทวารวิมุตตจิตโดยแน่นอนและไม่แน่นอน
- การจำแนกฐาน ๑๐ โดยจิต
- คาถาแสดงการจำแนกจิตโดยกิจและฐาน
- การจำแนกเจตสิกโดยทวาร
- การจำแนกเจตสิก ๕๒ โดยกิจ ๑๔
- คาถาแสดงฐานโดยพิสดาร
- คาถาแสดงการจำแนกฐาน ๒๕ โดยวิถี
- คำอธิบายการจำแนกฐานโดยวิถี
- คำชี้ี้แจงบาลีแสดงชื่อฐาน ที่ตั้งของฐาน และจำนวนฐาน
อารัมมณสังคหะ
วัตถุสังคหะ
- อารมณ์ ๖ และคำอธิบาย
- วัตถุ ๖
- การจำแนกทวาริกจิตและทวารวิมุตตจิตโดยอารมณ์ ๖
- วจนัตถะและคำอธิบาย
- คาถาแสดงจิตที่รับอารมณ์แน่นอน ๕ ประเภท
และไม่แน่นอน ๓ ประเภท
- คาถาแสดงการจำแนกภูมิ ๓๐ โดยวัตถุรูป ๖ และวิญญาณธาตุ ๗
- คาถาแสดงการจำแนกจิตที่อาศัยและไม่ได้อาศัยวัตถุรูปเกิด โดยแน่นอนและไม่แน่นอน
- การจำแนกจิต ๖๐ หรือ ๙๒ ดวง ที่รับอารมณ์แน่นอน
โดยอารมณ์ ๖ และกาล ๓
- การจำแนกจิต ๓๑ ดวง ที่รับอารมณ์ไม่แน่นอน
โดยอารมณ์ ๖ และกาล ๓
- การจำแนกวิญญาณธาตุ ๗ ที่เกิดในกามภูมิ ๑๑
โดยวัตถุรูป ๖
- อารมณ์พิสดาร ๒๑
- การจำแนกวิญญาณธาตุ ๔ ที่เกิดในรูปภูมิ ๑๕
โดยวัตถุรูป ๓
- การจำแนกจิตที่รับอารมณ์โดยแน่นอน
- การจำแนกจิตที่รับอารมณ์โดยแน่นอนและไม่แน่นอนรวมกัน
- วิญญาณธาตุ ๑ ที่เกิดในอรูปภูมิ ๔ โดยไม่ได้อาศัยวัตถุ
- การจำแนกเจตสิกโดยอารมณ์ ๒๑ แน่นอนและไม่แน่นอน
- การจำแนกจิต ๔๓ ที่อาศัยวัตถุรูปเกิดแน่นอน โดยวัตถุรูป ๖
- การจำแนกจิต ๔๒ ที่อาศัยวัตถุรูปเกิดไม่แน่นอน
โดยวัตถุรูป ๖
- อรูปวิปากจิต ๔ ไม่ได้อาศัยวัตถุรูปเกิดโดยแน่นอน
- การจำแนกเจตสิก ๕๒ โดยวัตถุรูป ๖