|
อธิบายเจตสิก ดวงที่ ๑ |
ชื่อเฉพาะ |
ผัสสะ |
ความหมาย |
ธรรมชาติที่กระทบอารมณ์ |
ลักษณะ |
๑. เอกุปปาทะ เกิดพร้อมกับจิต
๒. เอกนิโรธะ
ดับพร้อมกับจิต
๓. เอกาลัมพนะ
มีอารมณ์เดียวกับจิต
๔. เอกวัตถุกะ
มีที่อาศัยเกิดอย่างเดียวกันกับจิต |
ราสี |
อัญญสมานราสี |
ประเภท |
สัพพจิตตสาธารณเจตสิก |
ประกอบกับจิตได้ |
๑๒๑ ดวง |
ประกอบกับจิตไม่ได้ |
ไม่มี |
ประกอบกับเจตสิกได้ |
๕๑ ดวง |
ประกอบกับเจตสิกไม่ได้ |
๑ ดวง (ตัวเอง) |
ข้อคำถาม |
๑. ผัสสะเจตสิก มีความหมายว่าอย่างไร?
๒. ผัสสะเจตสิกมีลักษณะเช่นไร?
๓. ผัสสะเจตสิกจัดอยู่ในราสีใด?
๔. ผัสสะเจตสิกจัดอยู่ในราสีประเภทใด?
๕. ผัสสะเจตสิกประกอบกับจิตได้เท่าไร?
๖. ผัสสะเจตสิกประกอบไม่ได้ในจิตดวงไหน?
๗. ผัสสะเจตสิกประกอบกับเจตสิกได้เท่าไร?
๘. ผัสสะเจตสิกจะเกิดขึ้นเมื่อใด?
๙. ผัสสะเจตสิกจะดับลงเมื่อใด?
๑๐. ผัสสะเจตสิกมีอารมณ์เป็นเช่นไร?
๑๑. ผัสสะเจตสิกอาศัยอยู่ที่ไหน?
๑๒. หน้าที่ของผัสสะเจตสิกมีอุปมาเช่นไร? |
|
|